Page 196 - kpi21365
P. 196

ป้องกัน) มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูงที่สุด จ านวน 6 ข้อค าถาม ได้แก่ ข้อค าถามที่
                     3 (คิดเป็นร้อยละ 85.85) ข้อค าถามที่ 2 (คิดเป็นร้อยละ 85.44) ข้อค าถามที่ 4 (คิดเป็นร้อยละ 85.16)

                     ข้อค าถามที่ 7 (คิดเป็นร้อยละ 84.62 ข้อค าถามที่ 6 (คิดเป็นร้อยละ 84.07) และข้อค าถามที่ 5 (คิดเป็น

                     ร้อยละ 81.73) และมีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูง จ านวน 5 ข้อค าถาม ได้แก่ ข้อ
                     ค าถามที่ 8 (คิดเป็นร้อยละ 78.57) ข้อค าถามที่ 11 (คิดเป็นร้อยละ 76.92) ข้อค าถามที่ 9 (คิดเป็นร้อย

                     ละ 73.08) ข้อค าถามที่ 10 (คิดเป็นร้อยละ 72.39) และข้อค าถามที่ 1 (คิดเป็นร้อยละ 71.70)

                            ส่วนการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
                     จัดการสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในประเทศไทยในรายองค์ประกอบความโปร่งใส ปลอดการทุจริต

                     และประพฤติมิชอบ (ด้านการปราบปราม) มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูง (คิดเป็นร้อย

                     ละ 79.467) โดยเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับ
                     สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในประเทศไทยในราย

                     องค์ประกอบความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ด้านการปราบปราม) มีระดับการ

                     ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูงที่สุด จ านวน 1 ข้อค าถาม ได้แก่ ข้อค าถามที่ 1 (คิดเป็นร้อยละ
                     81.04) และมีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูง จ านวน 2 ข้อค าถาม ได้แก่ ข้อค าถามที่ 3

                     (คิดเป็นร้อยละ 79.81) และข้อค าถามที่ 2 (คิดเป็นร้อยละ 78.43)

                            ทั้งนี้ จากผลการวิจัยดังกล่าวซึ่งพบว่า ข้อองค์ประกอบความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ
                     ประพฤติมิชอบ (ด้านการป้องกัน) มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูงมากเป็นล าดับแรก

                     โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 79.96 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็นผลมาจากการที่หน่วยงาน

                     ภาครัฐมีกลไก/มาตรการ/แนวทางในการจัดการแก้ไข/ปรับปรุงความเสี่ยงด้านทุจริตภายในหน่วยงาน
                     ตนเองอย่างเป็นรูปธรรม โดยใช้การสร้างแนวทาง/กลไกเพื่อสร้างจิตส านึกและค่านิยมต่อต้านการทุจริต

                     ให้แก่บุคลากรอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบภายในหน่วยงานในการเป็นแบบอย่างที่ดี มีคุณธรรม

                     จริยธรรม ความซื่อสัตย์ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรให้สะอาด
                     ปราศจากพฤติกรรมทุจริต จึงส่งผลให้องค์ประกอบความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ

                     (ด้านการป้องกัน) มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูงมากเป็นล าดับแรก นอกจากนี้

                     ผลการวิจัยดังกล่าวยังพบว่า องค์ประกอบความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ด้านการ
                     ปราบปราม) มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูงเป็นล าดับสุดท้าย โดยมีร้อยละของการ

                     ขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 79.67 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็นเพราะหน่วยงานภาครัฐยังขาดการปรับปรุง
                     กระบวนการปราบปรามทุจริตภายในหน่วยงานให้มีรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมถึงมีการ

                     ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับองค์ความรู้ในการพัฒนาการปราบปรามการทุจริตที่ไม่ต่อเนื่องเท่าที่ควร ส่งผล

                     ให้องค์ประกอบความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ด้านการป้องกัน) มีระดับการ
                     ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย




                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :                177
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201