Page 192 - kpi21365
P. 192

ทั้งนี้ จากผลการวิจัยดังกล่าวซึ่งพบว่า ข้อค าถามที่ 4 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ใน
                     ระดับสูงมากเป็นล าดับแรก โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 84.20 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็น

                     ผลมาจากการที่หน่วยงานภาครัฐได้มีการน าระบบการก ากับติดตามประเมินผลการน านโยบายไปปฏิบัติ

                     ตามมาตรฐานที่หน่วยงานก าหนดมาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานในหน่วยงานตนเอง โดยมีการ
                     ประเมินผลการด าเนินงานงานตามผลการปฏิบัติงานและพฤติกรรมในการท างานที่เป็นจริงของบุคลากร

                     ภายในหน่วยงานอย่างเป็นรูปธรรม จึงส่งผลให้ข้อค าถามที่ 4 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ใน

                     ระดับสูงมากที่สุดเป็นล าดับแรก นอกจากนี้ ผลการวิจัยดังกล่าวยังพบว่า ข้อค าถามที่ 7 มีระดับการ
                     ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 76.37 ซึ่งผลการวิจัย

                     ดังกล่าวเป็นเพราะหน่วยงานภาครัฐยังขาดการส่งเสริมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และ ภาษาที่สาม

                     ให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานตนเอง ซึ่งเป็นเพราะแนวทางนโยบายในการพัฒนาบุคลาการภาครัฐใน
                     ปัจจุบัน ได้มีการสร้างรากฐานของการวางระบบการพัฒนาบุคลากรในบริบทของการพัฒนาประเทศไปสู่

                     การเป็นประเทศไทย 4.0 และดิจิทัลไทยแลนด์ โดยมุ่งพัฒนาจุดเน้น 4 ประการ ได้แก่ การปรับเปลี่ยน

                     ภาครัฐเป็นรัฐบาลดิจิทัล การส่งเสริมการท างานที่สอดคล้องเชื่อมโยงเป็นบูรณาการและการสร้าง
                     จิตส านึกความรับผิดชอบการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมและการคิดสร้างสรรค์ และการสร้างพันธมิตรและ

                     การส่งเสริมการท างานแบบประชารัฐ ซึ่งมิได้มีการก าหนดแนวทางที่แสดงถึงการให้ความส าคัญถึงการ

                     พัฒนาทักษะทางด้านภาษาต่างประเทศให้แก่บุคลากร ท าให้หน่วยงานภาครัฐส่วนใหญ่ไม่ได้ให้
                     ความส าคัญกับการพัฒนาบุคลากรของตนเองในด้านดังกล่าวอย่างเต็มที่ ส่งผลให้ข้อค าถามที่ 7 มีระดับ

                     การขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย


                               ในส่วนผลจำกกำรวิจัยเชิงคุณภำพพบว่ำองค์กรภำครัฐยังคงต้องกำรกำรพัฒนำอย่ำง
                     ต่อเนื่อง ในประเด็นนี้ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำบุคลำกรคือ ส ำนักงำน ก.พ. พยำยำมพัฒนำ

                     คนให้มีสมรรถนะสูง  ดังค ำกล่ำวที่ว่ำ

                                 “...หน่วยงำนหลักในกำรขับเคลื่อนบุคลำกรภำครัฐที่มีประสิทธิภำพได้แก่ ส ำนักงำน ก.พ.

                            ส ำนักงำน ก.พ. ซึ่งมีบทบำทหน้ำที่ควำมรับผิดชอบในเรื่องกำรบริหำรและกำรพัฒนำทรัพยำกร
                            บุคคลภำครัฐ จึงได้ด ำเนินกำรวำงแนวทำงกำรพัฒนำบุคลำกรภำครัฐระยะยำวที่สอดคล้องกับ
                            ยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี รวมถึงแผนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยได้ก ำหนดให้ระยะ 5 ปีแรกของ
                            กำรพัฒนำ เป็นระยะของกำรสร้ำงรำกฐำนของกำรวำงระบบกำรพัฒนำบุคลำกรภำครัฐและ

                            ส่งเสริมให้บุคลำกรภำครัฐสำมำรถปรับตัวและมีควำมพร้อมในทุกมิติที่จะท ำงำนในบริบทของ
                            กำรพัฒนำประเทศไปสู่กำรเป็นประเทศไทย 4.0 และดิจิทัลไทยแลนด์ โดยมุ่งพัฒนำจุดเน้น 4
                            ประกำร คือ 1)กำรปรับเปลี่ยนภำครัฐเป็นรัฐบำลดิจิทัล (Digital Government
                            Transformation) 2) กำรส่งเสริมกำรท ำงำนที่สอดคล้องเชื่อมโยงเป็นบูรณำกำรและกำรสร้ำง

                            จิตส ำนึกควำมรับผิดชอบ (Create Alignment and Accountability) 3) กำรส่งเสริมให้เกิด





                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :                173
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197