Page 204 - kpi21365
P. 204
กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ มีความเป็นเอกพันธ์ของเมตริกความแปรปรวนระหว่างกลุ่มที่เป็นปกติ จึง
เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณชนิดไม่มีตัวแปรร่วม
4) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
ของตัวแปรตามในการวิจัย (Dependent Variable’s Correlation) มีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ Bartlett's Test และ Pearson’s Correlation ปรากฏดังตารางที่ 4.14-4.15 ดังนี้
ตารางที่ 4.14 แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์องค์ประกอบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติที่ 6
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการทั้ง 8 องค์ประกอบ ด้วย Bartlett's
Test of Sphericity (a) Sig.
Likelihood Ratio .00
Approx. Chi-Square 768.52
df 9
Sig. .00 **
**
= มีนัยส าคัญทางสถิติ < .01
จากตารางที่ 4.14 ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการทั้ง 8 องค์ประกอบ มีค่า Sig
เท่ากับ .00 น้อยกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ (.05) แสดงว่าองค์ประกอบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์
ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการทั้ง 8 องค์ประกอบ มีความสัมพันธ์กัน
ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณชนิดไม่มีตัวแปรร่วม คณะผู้วิจัย
จึงได้ท าการทดสอบซ้ าเพื่อตรวจสอบระดับของความสัมพันธ์ในแต่ละองค์ประกอบด้วยค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์พหุคูณแบบเพียร์สัน ดังตารางที่ 4.15 ดังนี้
ตารางที่ 4.15 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของตัวแปรตามในการวิจัย
Correlation Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7 Y8
**
**
**
**
**
**
**
Y1 .73 .70 .76 .73 .79 .76 .69
**
**
**
**
Y2 1.00 .76 .74 .68 .64 .78 .76
**
**
**
**
**
**
**
Y3 - 1.00 .73 .71 .76 .79 .68
**
**
**
**
Y4 - - 1.00 .66 .72 .72 .79
**
**
**
Y5 - - - 1.00 .73 .73 .65
**
Y6 - - - - 1.00 .77 .77
*
**
Y7 - - - - - 1.00 .75
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 185
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ