Page 202 - kpi21365
P. 202
กำรหำประโยชน์มิชอบบนควำมไม่รู้ข้อกฎหมำย ของประชำชนและโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเรื่อง
ระยะเวลำในกำรด ำเนินคดีทำงกฎหมำยยังไทม่สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ กำรมีระยะเวลำกำร
ด ำเนินคดีที่ยำวนำนก็ไม่ตอบโจทย์กำรแก้ไขปัญหำเรื่องควำมเหลื่อมล้ ำในกระบวนกำรยุติธรรม
และสิทธิมำยชนและควำมเสมอภำค...”
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบข้อตกลงเบื้องต้น (Statistical Assumpion Test)
ของการใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว (One-way MANOVA)
การวิเคราะห์ข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว ชนิดไม่
มีตัวแปรร่วมแบบทางเดียว (One-way MANOVA) ประกอบด้วยดังนี้
1) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติเกี่ยวกับการแจกแจงความเป็นโค้งปกติ
ของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย (Normal Distribution) มีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ Kruskal-
Wallis Test ซึ่งใช้ส าหรับตัวแปรอิสระที่มีค่าย่อยเกินกว่า 2 ค่าขึ้นไป ปรากฏดังตารางที่ 4.11 ดังนี้
ตารางที่ 4.11 ผลการวิเคราะห์การแจกแจงความเป็นโค้งปกติของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย
Hypothesis Test Summary
Kruskal-Wallis Test - Null Hypothesis Sig. Decision
กลุ่มกระทรวงมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ .89 ยอมรับ Null Hypothesis
สังกัดกระทรวงมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ .71 ยอมรับ Null Hypothesis
จากตารางที่ 4.11 พบว่า ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มีค่านัยส าคัญทางสถิติของการทดสอบ
เท่ากับ .89 และ .71 ตามล าดับ ซึ่งมากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ได้ก าหนดไว้ที่ระดับ .05 (Sig > .05) ใน
ทุกตัวแปรอิสระของการทดสอบ โดยสามารถอธิบายได้ว่า ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ มี
การแจกแจงที่เป็นโค้งปกติ จึงเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ
ชนิดไม่มีตัวแปรร่วมประเภท
2) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติเกี่ยวกับภาวะสารูปสนิทดีของข้อมูลการ
วิจัย (Goodness of Fit) และความเป็นอิสระของข้อมูล (Test of Independent) มีสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ Chi-square Test ปรากฏดังตารางที่ 4.12 ดังนี้
ตารางที่ 4.12 ผลการวิเคราะห์ภาวะสารูปสนิทดี และความเป็นอิสระของข้อมูลในการวิจัย
Chi-Square Test
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 183
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ