Page 226 - kpi21190
P. 226

226





                       ขณะที่ในอีกกลุ่มหนึ่งนั้น เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าความเหลื่อมล้ำไม่ได้ส่งผลต่อ
                  การเปลี่ยนแปลงระบบ แต่ขึ้นอยู่กับตัวแปรศักยภาพของรัฐ (state capacity)
                  จากการศึกษาของ Dan Slater และคณะ ในยุคหลังอาณานิคม พบว่าการล่มสลายของ
                  ประชาธิปไตยไม่จำเป็นต้องมาจากการเรียกร้องให้กระจายทรัพยากร แต่มาจาก

                  ความอ่อนแอของรัฐ เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น? คำตอบก็คือ ความเหลื่อมล้ำเกี่ยวข้องกับ
                  อำนาจรัฐในการเก็บภาษี ถ้ารัฐต้องการเก็บภาษีในอัตราก้าวหน้า รัฐก็จะต้องมีศักยภาพ
                  มาก ถ้าหากรัฐไม่มีศักยภาพก็ไม่สามารถกล่าวถึงการดำเนินนโบายสวัสดิการได้ ดังนั้น

                  ประเด็นความเหลื่อมล้ำอาจไม่ใช่ตัวแปรสำคัญ แท้จริงแล้วขึ้นกับตัวแปรอื่น ที่เรียกว่า
                  การล่มสลายของประชาธิปไตย (Weak Democracy Syndrome) ที่ไม่ได้มาจาก
                  ความเหลื่อมล้ำ แต่อาจมาจากปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยอ่อนแอ











































        การประชุมกลุ่มย่อยที่ 3
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231