Page 64 - kpi20902
P. 64

63



                 ชุมชนเขาไปเสีย ข้อเสนอให้ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง ไม่ใช่การ “ร้องขอ” แต่เป็น “การทวงคืน” (reclaim)

                 สิทธิในการจัดการตนเองของชุมชน เพราะประวัติศาสตร์ที่ผ่านมานับพันๆ ปีนั น ชุมชนส่วนใหญ่เขาจัดการ

                 ตนเองในทุกเรื่องราวอยู่แล้ว ประเทศไทยมีกว่า 80,000 ชุมชนเมืองและชนบท การปฏิรูปที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลง

                 ชุมชน 80,000 ชุมชนเหล่านี จะเรียกได้อย่างไรว่าเป็นการปฏิรูปประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงชุมชนฐานราก

                 ทั งหมดนี จะท้าได้อย่างไร ถ้าไม่ท้าให้คนในองค์กรชุมชนกว่า 300,000 องค์กร ตื่นขึ นมาท้างานจัดการเรื่องราว

                 ของตนเอง ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเองนั น ชุมชนลงมือท้าด้วยตนเอง ท้าทุกเรื่อง ท้าต่อเนื่อง ยาวนาน... ไม่ว่า

                 รัฐบาลจะสนับสนุนหรือไม่ก็ตาม


                        แนวคิดแบบนี ท้าให้เห็นว่าสิทธิเริ่มแรกที่ชุมชนท้องถิ่นควรจะต้องรีบด้าเนินการทันทีก็คือการดูแล

                 ตนเองและชุมชนของตนเองเพราะที่ผ่านมาถูกปลูกฝังว่าปัญหาที่เกิดขึ นจะต้องมีหน่วยงานภาครัฐหรือ

                 นักการเมืองเข้ามาแก้ไขปัญหาให้  โดยลืมนึกไปว่าการแก้ไขปัญหาที่เกิดขั นควรจะต้องรีบด้าเนินการที่ตนเอง

                 ก่อนได้ โดยไม่จ้าเป็นจะต้องรอการช่วยเหลือจากภายนอก เปรียบเทียบเหมือนกับไฟก้าลังไหม้ หากเจ้าของ

                 บ้านรอแต่ให้คนมาช่วยดับไฟโดยไม่รีบด้าเนินการเสียก่อน ความเสียหายย่อมเกิดขึ นอย่างรุนแรง  แต่หาก

                 เจ้าของบ้านพยายามช่วยเหลือตนเองก่อน ปัญหาไฟที่ก้าลังลามอาจจะทุเลาเบาบางลงได้เสียก่อนแล้ว แต่เมื่อ

                 ขึ นชื่อว่าเป็นชุมชนซึ่งมีความหมายถึงคนที่อาศัยอยู่ร่วมกันในพื นที่และนิเวศเดียวกันเสียแล้ว ยิ่งเป็นตัวสะท้อน

                 ถึงการยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาร่วมกันของคนในชุมชนนั นเอง



                 2.5 ทฤษฎีการมีส่วนร่วม

                        เนื่องจากในชุมชนไม่ได้ประกอบด้วยคนหรือบุคคลแค่คนเดียว การจะสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน

                 จึงจ้าเป็นจะต้องอาศัยความร่วมมือของคนที่อยู่ในชุมชน ประสานความร่วมมือกันโดยการก้าหนดเป้าหมาย

                 ร่วมกันของชุมชนในการพัฒนาซึ่งการมีส่วนร่วมจ้าเป็นต้องมีขั นตอนที่สอดคล้องกันกับการด้าเนินงานให้มี


                 ประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนการมีส่วนร่วมมีนักวิชาการได้ให้ความหมายไว้หลากหลาย ดังนี

                        Aronstein (1969) การมีส่วนร่วม หมายถึง การเข้าไปมีส่วนร่วมโดยไม่มีบทบาทอะไรเลย ย่อมไม่ได้

                 ผลการมีส่วนร่วมที่มีคุณภาพนั น ผู้เข้าร่วมจะต้องรู้จักใช้อ้านาจและสามารถควบคุมกิจกรรมนั นได้ จึงจะท้าให้

                 เกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ


                        Berkley (1975) การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่ผู้น้าเปิดโอกาสให้ผู้ตามทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม

                 ตัดสินใจในการท้างานเท่าที่จะสามารถกระท้าได้

                        William Erwin (1976) การมีส่วนร่วม หมายถึง กระบวนการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง


                 ในการด้าเนินงานพัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ แก้ปัญหาของตนเอง
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69