Page 69 - kpi20902
P. 69
68
ขั นที่ 4 - การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (Evaluation) การมีส่วนร่วมในการประเมินผลนั น
สิ่งส้าคัญจะต้องสังเกต คือ ความเห็น (Views) ความชอบ (Preferences) และความคาดหวัง (Expectation)
ซึ่งมีอิทธิพลสามารถแปรเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มต่างๆ ได้
โดยสรุป กระบวนการมีส่วนร่วมในงานวิจัยครั งนี ผู้วิจัยจะมุ่งให้ความสนใจถึงกระบวนการ
มีส่วนร่วมในประเด็น การมีส่วนร่วมในการค้นหาสาเหตุ และความต้องการ การมีส่วนร่วมในการวางแผนและ
ด้าเนินการ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ การมีส่วนร่วมในการประเมินผล และ
รับผลประโยชน์ที่เกิดขึ น โดยเฉพาะการก้าหนดทิศทางอนาคตของตนเองหรือการบริหารจัดการร่วมกัน
เป็นประเด็นส้าคัญ
2.5.2 ลักษณะการมีส่วนร่วมของชุมชน
ลักษณะของการมีส่วนร่วมของชุมชนจะมีลักษณะที่กว้างและหลากหลาย ในงานวิจัยครั งนี การ
เน้นลักษณะการมีส่วนร่วมในประเด็นที่เกิดจากกิจกรรม เช่น การเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นในประโยชน์
ส่วนรวม การเข้าร่วมในการตัดสินใจ การวางแผน และร่วมตรวจสอบการท้างานในลักษณะองค์กรชุมชน ฯลฯ
และการเน้นการศึกษาในลักษณะของการบริหารจัดการที่เกิดจากการด้าเนินงานในลักษณะการสร้างความ
เข้มแข็งผ่านเครือข่าย ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐอย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือสถาบันการศึกษา
ดังมีนักวิชาการได้ให้ความเห็น เช่น Ornstein (อ้างใน ชูชาติ พ่วงสมจิตต์, 2540) เห็นว่า การมีส่วนร่วมจะมี
ลักษณะมากน้อยเพียงใด ให้พิจารณาว่าผู้น้าเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปร่วมในการใช้อ้านาจและมีบทบาท
ในการควบคุมได้เท่าใด ซึ่งเป็นข้อบ่งบอกถึงภาวะผู้น้าที่เป็นประชาธิปไตยว่า มีสูงหรือต่้า โดย Ornstein ได้
สรุปลักษณะการมีส่วนร่วมออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1) การมีส่วนร่วมเทียมหรือไม่มีส่วนร่วม 2) การมีส่วนร่วม
พอเป็นพิธีหรือร่วมเพียงบางส่วน 3) การมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง คือ มีอ้านาจและบทบาทมาก สอดคล้องกับ
แนวคิดของ Campbell & Ramseyer (อ้างใน จิราภรณ์ ศรีค้า, 2547) ได้แบ่งลักษณะการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนได้ 5 ลักษณะ ได้แก่ 1) ลักษณะที่ไม่มีส่วนร่วมเลย 2) ลักษณะที่มีส่วนร่วมน้อย 3) ลักษณะที่มี
ส่วนร่วมปานกลาง 4) ลักษณะที่มีส่วนร่วมมาก 5) ลักษณะที่มีส่วนร่วมมากที่สุด
Huntington & Nelson (1975) เห็นว่า ลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนจะพิจารณาจาก
กิจกรรม และการบริหาร ซึ่งจะต้องมีการศึกษาควบคู่กันไปในระดับกิจกรรมนั น จะเป็นพื นฐานเบื องต้นของ
การท้าให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมมากที่สุด ส่วนในด้านการบริหารนั น จะเป็นลักษณะของผู้มี
อ้านาจหน้าที่ที่จะเปิดทางให้ประชาชนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น หรือแสดงออกถึงเข้าร่วมในกิจกรรม
โดย Huntington & Nelson ได้มีหลักในการพิจารณาถึงลักษณะการมีส่วนร่วมดังมีรายละเอียด ดังนี