Page 70 - kpi20902
P. 70
69
1) กิจกรรม ลักษณะของการมีส่วนร่วมประเภทนี ให้ดูจากกิจกรรมที่เข้าร่วม เช่น ด้าน
การเมือง อาจพิจารณาจากการมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั ง การลงประชามติ การประท้วง กรณีที่
รัฐมีโครงการที่มีผลกระทบต่อประชาชน เป็นต้น ว่าสามารถกระท้าได้เพียงใด
2) ระดับการบริหาร โครงสร้างขององค์กรหนึ่งจะต้องมีสายการบังคับบัญชา ดังนั น การ
มีส่วนร่วมจะพิจารณาได้จาก
ในแนวราบ ทุกแผนกทุกฝ่ายจะมีความเสมอกันในต้าแหน่ง ดังนั น การมีส่วนร่วม
ในแนวราบจึงเป็นไปอย่างหลวมๆ ไม่จริงจัง ทั งนี อาจเป็นเพราะมีสถานะหรือต้าแหน่งเท่ากัน
ในแนวดิ่ง เป็นการมีส่วนร่วมตามสายการบังคับบัญชา เช่น มีหัวหน้าลูกน้อง มีฝ่าย
แผนกต่างๆ ลดหลั่นกันไป เป็นต้น การท้างานจึงมีการตรวจสอบตามล้าดับขั น การแสวงหาผลประโยชน์เพื่อ
ตนเองหรือผู้อื่นจะได้รับการตรวจสอบจากผู้บังคับบัญชา
การมีส่วนร่วมทั งแนวราบและแนวดิ่งนั น ในบางครั งจะต้องท้างานร่วมกันผู้บังคับบัญชา
และเพื่อนร่วมงานในแผนกอื่น จึงต้องแสดงบทบาทตามสถานภาพของแนวราบและแนวดิ่ง
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม และ พรรณทิพย์ เพชรมาก (2551) ได้กล่าวถึงลักษณะการมีส่วนร่วม
ในการพัฒนาชุมชนไว้ในเอกสารประกอบการสอนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาเมืองและชนบท
โดยได้ข้อสรุปลักษณะการมีส่วนร่วมแบ่งออกเป็น 6 ลักษณะ ได้แก่
1) การรับรู้ข่าวสาร (Public Information) การมีส่วนร่วมแบบนี ประชาชนเป็นผู้ที่มีส่วนได้
ส่วนเสีย และบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องได้รับการแจ้งให้ทราบถึงรายละเอียดของโครงการที่จะ
ด้าเนินการ รวมทั งผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ น ทั งนี การแจ้งข่าวสารดังกล่าวจะต้องเป็นการแจ้งก่อนที่จะมี
การตัดสินใจด้าเนินโครงการ
2) การปรึกษาหารือ (Public Consultation) เป็นรูปแบบของการมีส่วนร่วมที่มีการจัดการ
หารือระหว่างผู้ด้าเนินการโครงการกับประชาชนที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบเพื่อรับฟังความคิดเห็นและ
การตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติม นอกจากนี ยังเป็นช่องทางการกระจายข่าวสาร ข้อมูลไปยังประชาชนและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เกิดความเข้าใจ และเพื่อให้มีการให้ข้อเสนอแนะเพื่อประกอบทางเลือกการตัดสินใจ
3) การประชุมรับฟังความคิดเห็น (Public Meeting) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนและฝ่าย
ที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจกรรมและผู้ที่มีอ้านาจในการตัดสินใจ ใช้เวทีสาธารณะในการท้าความเข้าใจ
การประชุมรับฟังความคิดเห็นมีหลายวิธีการ เช่น การประชุมระดับชุมชน (Community Meeting) การ
ประชุมรับฟังความคิดเห็นเชิงวิชาการ (Technical Meeting)