Page 59 - kpi20902
P. 59

58



              โดยอาศัยทุนทางสังคม เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาตั งแต่ครั งบรรพบุรุษ ทักษะความสามารถ

              เฉพาะตัว ความเป็นเครือญาติที่มีความสัมพันธ์ทางสายเลือดหรือเกี่ยวดองกันจากการแต่งงาน ทรัพยากร

              ธรรมชาติต่างๆ ที่มีอยู่แวดล้อมทั งในและนอกชุมชน น้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ทั งกับตนเองและส่วนรวม

              ทั งชุมชน นอกจากนั นยังสามารถสร้างเครือข่ายโดยการถ่ายทอดความเข้มแข็งไปยังชุมชนใกล้เคียงอื่นๆ

              จนเกิดการประสานความร่วมมือเป็นเครือข่ายชุมชนที่มีความเข้มแข็งในที่สุด

                            ในกระบวนการพัฒนาชุมชมให้เกิดความเข้มแข็ง นายแพทย์ ประเวศ วะสี  ราษฎรอาวุโส
                                                                                           35
              ได้กล่าวไว้ในหนังสือ “จุดเปลี่ยนประเทศไทย หัวใจคือชุมชน” ว่าการจะสร้างชุมชนเข้มแข็งได้คนในชุมชน

              จะต้องเกิดการร่วมคิดร่วมท้า การรวมตัวร่วมคิดร่วมท้าจะหยุดยั งความชั่วต่างๆ และเป็นปัจจัยส้าคัญของ

              ความส้าเร็จ เช่น การแก้ไขความยากจนและการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมชุมชนที่มีการรวมตัวร่วมคิดร่วมท้า

              และแก้ความยากจนได้จะมีศักดิ์ศรีและแข็งแรง โดยกระบวนการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นให้เกิดความเข้มแข็ง

              พึ่งตนเองได้มีปรากฏในแผนการด้าเนินงานของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (บทสรุป

              ผู้บริหาร การศึกษาระบบการพัฒนาสังคมที่น้าไปสู่ความมั่นคงมนุษย์, 2550) ที่มุ่งเพื่อจะให้มีการพึ่งพาตนเอง

              ได้ในระดับชุมชนหรือระหว่างชุมชนด้วยกัน การบรรลุถึงเป้าหมายดังกล่าวจะต้องด้าเนินการตามกระบวนการ

              ดังต่อไปนี

                            ขั นตอนที่ 1 การพัฒนาคุณภาพของบุคคล โดยการเพิ่มศักยภาพให้สามารถรับผิดชอบตนเอง


              และครอบครัวได้

                            ขั นตอนที่ 2 ด้าเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบเป็นขั นตอน ดังนี


                                 ขั นตอนตอบสนองความต้องการขั นพื นฐาน


                                 ขั นตอนการพัฒนาจิตส้านึก และพัฒนาโครงสร้างพื นฐานและเทคโนโลยีที่เป็นระบบ

                                 ขั นตอนการเพิ่มบทบาทของคนในหมู่บ้านในการควบคุมสิ่งแวดล้อม


                            ซึ่งจากกระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนของ นพ.ประเวศ วะสี จะมองที่ท้าให้เกิด

              กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนให้ได้ แต่กระบวนการของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง

              ของมนุษย์ จะมุ่งไปที่พัฒนาศักยภาพของคน เช่น จิตส้านึก อย่างเป็นระบบจากนั นจึงมุ่งไปที่การควบคุม

              สิ่งแวดล้อมชุมชนในภายหลัง การสร้างให้ชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง ต้องยึดหัวใจที่ส้าคัญ คือ การพัฒนา

              ชุมชนฐานราก ดังได้กล่าวมาแล้ว



                     35  ประเวศ วะสี, จุดเปลี่ยนประเทศไทย หัวใจคือชุมชน, พิมพ์ที่ส้านักพิมพ์ กรีน-ปัญญาญาณ, กรุงเทพฯ, 2551:

              หน้า 26.
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64