Page 56 - kpi20902
P. 56

55



                               จากความหมายของชุมชนเข้มแข็งดังกล่าว ท้าให้เราพอจะเห็นได้ว่า ค้าว่าชุมชนเข้มแข็งไม่ได้

                 มุ่งเน้นเพียงแค่การสร้างตัวบุคคลให้มีความเข้มแข็งที่โดยนัยที่ให้ความหมายมักจะเป็นการขับเคลื่อนของกลุ่ม

                 คนที่อยู่ในชุมชนร่วมกัน โดยเน้นไปที่การพึ่งพาตนเองได้ ร่วมกันตัดสินใจแก้ไขปัญหาของชุมชนร่วมกัน

                 จากการเข้ามามีส่วนร่วมของคนในชุมชน ซึ่งผลจากการกระท้าจะส่งผลให้เกิดเศรษฐกิจที่ดี คุณภาพชีวิต

                 ที่ดีและความเป็นอยู่ที่ดี และเชื่อมโยงไปถึงเรื่องของจิตใจ โดยอาศัยความสัมพันธ์ทางเครือข่าย ความรัก

                 สมัครสมานสามัคคี ร่วมถึงการมีจิตส้านึกรักชุมชนของตนเอง เสมือนว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนนั น


                            2) ลักษณะของชุมชนเข้มแข็ง

                                                                           32
                               โดยลักษณะของชุมชนเข้มแข็งนั น  โกวิทย์  พวงงาม   ศาสตราจารย์ด้านการพัฒนาชุมชน

                 แห่งประเทศไทย ได้เสนอลักษณะของชุมชนเข้มแข็งไว้ว่า
                                     เป็นชุมชนที่มีสภาพรวมกันเป็นปึกแผ่น คือ สมาชิกชุมชนมีศักยภาพ มีการพึ่งพา


                 อาศัยและร่วมมือกันในกิจกรรมต่างๆ ทั งส่วนตัวและส่วนรวม ทั งด้านอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี พิธีกรรม

                 การพัฒนาชุมชนและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ นในชุมชน

                                     เป็นชุมชนที่มีศักยภาพที่พึ่งพิงตนเองได้ มีทุน มีแรงงานทรัพยากรเป็นการยังชีพ

                 พื นฐานของครอบครัว การพึ่งพิงภายนอกอยู่ในลักษณะที่ชุมชนมีอ้านาจในการจัดการเลือกสรร ตัดสินใจ และ

                 มีส่วนร่วมสูง

                                     เป็นชุมชนที่สามารถควบคุมและจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ นได้ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่

                 โดยอาศัยความรู้ และกลไกภายในชุมชนก้าหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยอาศัยความร่วมมือภายในชุมชน

                 เป็นหลัก

                                     เป็นชุมชนที่พัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้

                 สร้างภูมิปัญญาของตนเองในด้านต่างๆ ทั งด้านเศรษฐกิจ การบริหารจัดการ การปกครอง วัฒนธรรม เป็นต้น

                 มีผลให้ชุมชนมีความรู้และความสามารถที่จะพัฒนาตนเองและถ่ายทอดความรู้นั นได้อย่างต่อเนื่อง

                               จากข้อเสนอลักษณะของชุมชนเข้มแข็งของ โกวิทย์ พวงงาม ดังกล่าวก็สอดคล้องกับแนวคิด

                                       33
                 ของ Ka Benfield (2012)  นักกิจกรรมด้านการพัฒนาชุมชนแห่งประเทศสก๊อตแลนด์ ได้น้าเสนอปัจจัย 7




                        32  โกวิทย์ พวงงาม, การปกครองท้องถิ่นไทย: หลักการและมิติใหม่ในอนาคต, พิมพ์ครั งที่ 2, ส้านักพิมพ์วิญญูชน,

                 กรุงเทพฯ, 2545, หน้า 4.

                        33  KAID BENFIELD, What Are the 7 Keys to a Strong Community ?, (ออไลน์) แหล่งที่มา

                 https://www.citylab.com/design/2012/10/what-7-keys-strong-community/3658/
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61