Page 60 - kpi20902
P. 60
59
2.3 แนวคิดชุมชนท้องถิ่น (ฐานรากของประเทศ)
“ชุมชนท้องถิ่น” เป็นค้าที่สะท้อนถึง “สังคมหมู่บ้าน” โดยประเทศไทยได้แบ่งแยกเขตการปกครอง
เพื่อให้สะดวกต่อการดูแล นักพัฒนาจึงได้น้าเขตพื นที่ดังกล่าวมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน
ทั งนี เพราะค้าว่า “หมู่บ้าน” สื่อความหมายให้เข้าใจถึงการกระจุกตัวของบ้านหลายๆ บ้าน หรือหลายๆ
ครัวเรือนในพื นที่แห่งหนึ่งหรือในระบบนิเวศแห่งหนึ่ง ซึ่งนับได้ว่าเป็นหน่วยทางสังคมที่มีขนาดเล็กที่สุด ในที่นี
ชุมชนท้องถิ่น จึงหมายถึง ถิ่นฐานที่อยู่ของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับสภาพพื นที่ทางภูมิศาสตร์ ระบบ
ความสัมพันธ์ในสังคมมนุษย์ และทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นนั นๆ มีนัยครอบคลุมถึงชุมชน ท้องถิ่น และ
เครือข่ายสังคมที่มีขบวนการทางสังคมและความเป็นชุมชนที่สลับซับซ้อนตามบทบาท หน้าที่ และกระบวนการ
36
จัดการในมิติต่างๆ ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (สุทิตย์ อาภากโร, 2548)
โดยในการศึกษาครั งนี นักวิจัยได้ก้าหนดชุมชนเทียบเท่ากับหมู่บ้านเพื่อให้ง่ายต่อการก้าหนดเขตพื นที่
ในการท้างาน ซึ่งในปัจจุบันชุมชนท้องถิ่นในประเทศไทย จากรายงานของเว็บไซต์กรมการปกครอง ในปี 2560
37
พบว่ามีชุมชนหมู่บ้านอยู่ทั งหมด 75,032 ชุมชน/หมู่บ้าน โดยชุมชนท้องถิ่นในปัจจุบันถูกแบ่งแยกออก
เป็นส่วนๆ ตามเขตพื นที่การปกครอง ซึ่งหากได้มีโอกาสลงไปในชุมชนท้องถิ่นซึ่งถูกแบ่งเขตการปกครองออกเป็น
ชุมชนต่างๆ ตามเขตพื นที่หมู่บ้านเพียงเพราะมีเส้นถนนแบ่งแยกชุมชนออกจากกันเป็นเหตุท้าให้ความสัมพันธ์
ในลักษณะเชิงโครงสร้างของครอบครัวถูกแบ่งแยกออกโดยเขตพื นที่การปกครองอาจจะนับได้ว่าเป็นสาเหตุของ
การสร้างความแตกแยกให้กับระบบชุมชนท้องถิ่นอย่างหนี่ง เนื่องจากความยึดโยงกันทางด้านความสัมพันธ์
ในลักษณะเครือญาติได้ลดทอนลงไปด้วย ท้าให้ความเหนียวแน่นจากความสัมพันธ์กันลดน้อยลงถึงแม้จะมีความ
เชื่อมโยงกันทางสายเลือดก็ตาม ซึ่งในการศึกษาครั งนี ความสัมพันธ์ทางเครือญาติจะเป็นทุนทางสังคมที่ส้าคัญ
เนื่องจากเป็นจุดเชื่อมโยงให้เกิดการมีส่วนร่วมและท้างานร่วมกันแบบประคับประคองกันไป หากมีเหตุท้าให้เกิด
การทะเลาะเบาะแว้งก็จะสามารถพูดคุยปรับเปลี่ยนวิธีการ จนน้าพาชุมชนท้องถิ่นก้าวข้ามสภาพปัญหาที่เกิดขึ น
ได้ในที่สุด
บทบาทชุมชนท้องถิ่น หมายถึง การปฏิบัติตามสิทธิหน้าที่อันเนื่องมาจากสถานภาพของบุคคล
เนื่องจากบุคคลมีหลายสถานภาพในคนเดียวกัน เช่น อาจจะเป็นนายก อบจ. อบต. ก้านัน ผู้ใหญ่บ้าน และ
ยังด้ารงต้าแหน่งเป็นประธานชมรมต่างๆ เป็นต้น ฉะนั นบทบาทของบุคคลจึงต้องปฏิบัติไปตามสถานภาพ
36 พระมหาสุทิตย์ อาภากโร (อบอุ่น)., นวัตกรรมการเรียนรู้ : คน ชุมชน และการพัฒนา, กรุงเทพฯ : โครงการ
สร้างเสริมการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.), 2548.
37 จ้านวนอ้าเภอ ต้าบล หมู่บ้าน เทศบาล อบต. และเนื อที่ รายจังหวัด ปี 2560, กรมการปกครอง, (ออนไลน์)
แหล่งที่มา http://stat.bora.dopa.go.th/dload/fccaa.htm