Page 62 - kpi20902
P. 62

61



                 และวิธีคิดในการบริหารจัดการของผู้บริหารเทศบาลนครซุซะคะ ได้มีการก้าหนดเป้าหมายและมีการปฏิบัติงาน

                 ให้ประชาชนด้ารงชีวิตอย่างมีความสุขได้อย่างน่าสนใจ ดังเช่น


                            1) การสร้างเมือง (เทศบาลนครซุซะคะ) โดยให้ความส้าคัญแก่สุขภาพและสวัสดิการชุมชน

                 หมายถึงการสร้างเมืองที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความเปลี่ยนของโลกหรือสอดคล้องกับสภาพปัญหา

                 ของเทศบาลนคร

                            2) การสร้างเมืองที่สามารถศึกษาได้ตลอดชีวิต โดยเน้นวัฒนธรรมพื นเมือง การพัฒนาทรัพยากร


                 บุคคลและภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งกระบวนการดังกล่าวมีความส้าคัญอย่างมากในการด้ารงอยู่ของชุมชนที่ต้อง
                 ต้านทานกับกระแสของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ น  ดังนั น การพัฒนาให้ชุมชนท้องถิ่นอยู่ได้อย่างยั่งยืนจ้าเป็น


                 ที่จะต้องมีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา แต่ก็ไม่ละทิ งรากเหง้าของตนเองไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมพื นเมือง ภูมิปัญญา
                 ท้องถิ่น และให้ความส้าคัญกับทรัพยากรบุคคลของชุมชนท้องถิ่นเอง


                            3) การสร้างเมืองที่มีสภาพแวดล้อมการด้ารงชีวิตให้ปลอดภัย และประชาชนสามารถอาศัยอยู่ได้

                 อย่างสงบสุข เช่น สร้างที่อยู่อาศัยมีความสบายและมีคุณภาพ การใช้ที่ดินและน ้าไม่ท้าลายทรัพยากรธรรมชาติ

                 การสร้างวิวทิวทัศน์ที่สวยงามและการสร้างเมืองปลอดภัย เป็นต้น นอกจากการด้ารงชีวิตอยู่ได้เป็นปกติสุขแล้ว

                 ยังจ้าเป็นที่จะต้องมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินด้วย จึงจะท้าให้คนที่อยู่ในชุมชนเกิดความสงบสุขได้


                            4) การสร้างเมืองให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย และอุตสาหกรรม มีพัฒนาการค้าและ

                 การท่องเที่ยว เป็นต้น  การปรับเปลี่ยนตัวเองหรือปรับให้พร้อมกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมโดยรวม

                 จ้าเป็นต้องยอมรับและเรียนรู้กับสิ่งใหม่ๆ ที่ก้าลังเกิดขึ น โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ หรือ

                 นวัตกรรมใหม่เพื่อมาช่วยอ้านวยความสะดวกให้กับมนุษย์  โดยเฉพาะชุมชนท้องพยายามปรับตัวให้เหมาะกับ

                 ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ นอยู่ตลอดเวลา


                            5) การสร้างเมืองให้มีความส้าคัญแก่สิทธิมนุษยชน เช่น สังคมอบอุ่น มีการแลกเปลี่ยนกันหลาย

                 รูปแบบ การสร้างเมืองหรือสังคมที่น่าอยู่ต้องค้านึงถึง ความเป็นมนุษย์ให้มาก โดยเห็นคุณค่าของความเป็น

                 มนุษย์ จะเป็นการลดช่องว่างทางสังคมได้อีกช่องทางหนึ่งด้วย


                            6) การสร้างเมืองที่ฝ่ายเทศบาลนครซุซะคะ และภาคประชาชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมท้างาน และ

                 อย่างมีความก้าวหน้า เช่น จัดท้าแผนพัฒนา บริหารจัดการอย่างโปร่งใสและมีประสิทธิภาพ เป็นต้น

                 เป็นต้นแบบของชุมชนเข้มแข็งที่ในงานวิจัยครั งนี คาดหวังอยากจะให้เกิดขึ นเป็นรูปธรรม
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67