Page 24 - kpi20899
P. 24

“การถอดบทเรียนชุมชนเพื่อการปฏิรูปกระบวนการจัดการทรัพยากร : พลวัตแห่งการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรน ้า
                        ในพื นที่ต้าบลหนองพันจันทร์ อ้าเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี”  โดย  ดร.ปริชัย ดาวอุดม และนายเจษฎา เนตะวงศ์







                  ชุมชนอาจไม่ได้นิยามกระบวนการที่ด้าเนินการอยู่ว่าเป็นประชาธิปไตยชุมชนหรือประชาธิปไตยในรูปแบบ

                  ใดเลย เพราะในความเป็นจริงชุมชนในสังคมไทย จากอดีตถึงปัจจุบันต่างก็มีภาพของความร่วมแรงร่วมใจ

                  ในการท้ากิจกรรมอันเป็นสาธารณะประโยชน์ไม่มากก็น้อย ไม่ว่าจะเป็นงานบุญ ประเพณี การท้านุบ้ารุง

                  ซ่อมแซม ถนนหนทาง สาธารณูปโภค การป้องกันภัยพิบัติ ฯลฯ หากแต่ในระยะเวลาต่อมาการขยายตัวของ

                  ระบบราชการ และการสาธารณูปโภคของรัฐ ได้เข้าไปยึดแย่งและรับเหมาท้าแทน จนท้าให้ความจ้าเป็น

                  ในการร่วมแรงร่วมใจของคนในชุมชนลดน้อยลง เมื่อรัฐต้องการให้มีการกระจายอ้านาจสู่ท้องถิ่น ภาพของ

                  การรับเหมาท้าแทน คิดแทนของท้องถิ่นก็สวมทับลงไปแทนบทบาทของรัฐ ประกอบกับทรัพยากรที่กฎหมาย

                  ยึดไปเป็นอ้านาจรัฐท้องถิ่นในการบริหารจัดการ ยิ่งท้าให้วิถีของการมีส่วนร่วมตามกรอบประชาธิปไตยชุมชน

                  ยิ่งลดน้อยลงไปอีก ยิ่งการผลักดันให้ชุมชนมีสิทธิชุมชนหลายประการในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา การจะ

                  ขับเคลื่อนให้เป็นผลจึงต้องอาศัยวิถีประชาธิปไตยชุมชนเป็นแรงผลักดันส้าคัญ แต่วิถีตามกรอบประชาธิปไตย

                  ชุมชนดังกล่าวจะเกิดขึ้นไม่ได้เลย ถ้าประชาชนขาดการร่วมแรง ร่วมใจ ที่จะคิด - ท้า - แก้ปัญหา ในบรรดา

                  กิจการสาธารณะของชุมชน ซึ่งการที่ชุมชนจะลุกขึ้นมาคิด - ท้า – แก้ปัญหา และร่วมแรงร่วมใจกันอีกครั้ง

                  จึงไม่อาจท้าได้เฉพาะการบอกให้รู้ว่าชุมชนมีสิทธิ แต่บรรดาอ้านาจในการเข้าถึง เข้าใช้ และจัดการ

                  ทรัพยากรชุมชน จะต้องถูกผ่องถ่ายคืนสู่ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม ชุมชนหนองพันจันทร์นับได้ว่าเป็นชุมชน

                  หนึ่งที่มีเงื่อนไขและองค์ประกอบที่ท้าให้การขับเคลื่อนการใช้สิทธิชุมชนเชิงสร้างสรรค์มีความเป็นรูปธรรม

                  ผ่านกระบวนการและแนวคิดในลักษณะประชาธิปไตยชุมชนได้อย่างดียิ่ง



                  2.2 แนวคิดเรื่องทุนทางสังคมกับการจัดการทรัพยากรของชุมชน

                         ความสามารถของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรมีมาตั้งแต่อดีต ในฐานะที่ประชาชนและ

                  ชุมชนเป็นหนึ่งเดียวกับทรัพยากร ชุมชนและประชาชนในชุมชนต่างถือว่าตนเองกับทรัพยากรเกื้อกูลซึ่งกัน

                  และกัน บางครั้งใช้ทรัพยากรจนเสื่อมโทรมมากเกินไปก็จะน้าไปสู่กระบวนการและมรรควิธีในการฟื้นฟู

                  ทรัพยากร และเมื่อทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ก็อาจเกิดมรรควิธีอีกมากมายในการน้าทรัพยากรเหล่านั้นมาใช้

                  ประโยชน์ สร้างความมั่งคั่งให้กับผู้คนในชุมชน มรรควิธีที่เป็นพลวัตรสลับไปมาระหว่างการใช้ทรัพยากร

                  ท้าลายทรัพยากร และฟื้นฟูทรัพยากรนี้ถือได้ว่าเป็นความรู้ที่สั่งสมอยู่ในชุมชนมาอย่างช้านาน มรรควิธี

                  ดังกล่าวหาใช่เป็นเพียงมรรควิธีที่เกิดขึ้นเฉพาะในระดับปัจเจกชน แต่เป็นมรรควิธีของการรวมหมู่รวมกลุ่ม

                  ในอันที่จะร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ อย่างค่อยเป็นค่อยไปด้วย การที่ชุมชนจะสามารถด้าเนินตามแนวทางหรือ

                  มรรควิธีดังกล่าวได้อย่างราบรื่น นอกจากจะต้องสั่งสมความรู้มาอย่างยาวนานแล้ว ชุมชนจะต้องมีการ







                                                            23
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29