Page 22 - kpi20896
P. 22
21
2.1.1.3 ลักษณะความเหลื่อมล้้าในระดับสากล
จากการทบทวนเอกสารพบลักษณะของความเหลื่อมล้้าในภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกซึ่งเป็นการ
ค้านวณค่าความเหลื่อมล้้าแบบ Gini ในทุก 5 ปี พบแนวโน้มการลดลงของความเหลื่อมล้้าของรายได้ที่มีระดับ
ความเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป (0.39 ในปี 2000 เปลี่ยนเป็น 0.385 ในปี 2005 และ 0.38 ในปี
2010) อย่างไรก็ตามเมื่อแยกกลุ่มประเทศตามภูมิภาค พบว่ากลุ่มประเทศในแถบแคริเบียนและละตินอเมริกา
มีระดับความเหลื่อมล้้าที่สูงมาก โดยในปี ค.ศ.2000-2015 มีความเปลี่ยนแปลงแบบลดลงจาก 0.551 เหลือ
0.502 ถือเป็นภูมิภาคที่มีความน่ากังวลเรื่องโครงสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีความเหลื่อมล้้าด้านรายได้
มากที่สุด ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นได้ดังตาราง
ตารางที่ 2.1 แสดงค่าค้านวณ Gini Coefficient แบ่งตามภูมิภาคและระดับรายได้
Gini coefficient
Region
2000 2005 2010
World 0.39 0.385 0.38
Advanced economies 0.298 0.302 0.304
East Asia and the Pacific 0.38 0.391 0.389
Eastern Europe and Central Asia 0.331 0.329 0.333
Latin America and the Caribbean 0.551 0.532 0.502
South Asia 0.354 0.351 0.328
Sub-Saharan Africa 0.445 0.434 0.44
Income Category
Low income countries 0.316 0.32 0.323
Lower middle income countries 0.421 0.412 0.399
Upper middle income countries 0.442 0.436 0.428
Total middle income countries 0.431 0.423 0.413
High income countries 0.397 0.386 0.386
ที่มา : Lustig, N. (2015) Fiscal Policy, Inequality and the Poor in the Developing World.