Page 304 - kpi20858
P. 304
261
รูปทรงแบบอุดมคติผสานความเหมือนจริง
ล าดับที่ รูปทรง การวิเคราะห์
รูปเทพนม ผนังตอนบน ภาพเทพบุตรและ
เทพธิดาอยู่ในท่าเหาะเหิน พร้อมยกมือขึ้น
ประนมที่อก ชายผ้าปลิวไสว แสดง
ก ความรู้สึกถึงอากาศภายในภาพได้เป็น
อย่างดี รูปทรงของเทพนมอยู่ในท่าทางเชิง
นาฏลักษณ์แบบจิตรกรรมตามขนบนิยม
งามแบบอุดมคติ ทว่ามีแสงและเงา สร้าง
ปริมาตรแก่รูปทรงอย่างศิลปะตะวันตก
รูปทรงแบบเหมือนจริง
ล าดับที่ รูปทรงมนุษย์ การวิเคราะห์
พระพายุ แสดงให้เห็นถึงความพยายามในการ
น าเสนอรูปทรงให้ถูกต้องตามหลักกายวิภาค ทั้ง
สัดส่วนของรูปทรงและกล้ามเนื้อของมนุษย์ และการ
ก าหนดท่าทางการนั่งที่มิได้เป็นไปในเชิงนาฏลักษณ์
หากแต่ยึดถือความสมจริงเป็นหลัก รูปทรงแม้ยังไม่
1ข ถูกต้องตามหลักกายวิภาคทั้งหมด แต่โดยภาพรวม
ของรูปทรงที่ปรากฏในอุโบสถหลังนี้ เป็นรูปแบบ
จิตรกรรมไทยแนวตะวันตกทั้งสิ้น เพราะจิตรกรได้
ค านึงถึงสัดส่วน กล้ามเนื้อ ท่าทางตลอดจนการลงสี
และเสง-เงา โดยอ้างอิงจากความเป็นจริงตาม
ธรรมชาติ
ตอน พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโปรดภัททวัคคีย์
จากภาพรูปทรงมนุษย์ทั้งหมดแสดงกล้ามเนื้อ สัดส่วน
และโครงสร้างของกระดูก โดยมีความพยายาม
7ค
เลียนแบบเรือนร่างของมนุษย์ และมีการก าหนดค่าสี
สร้างแสง-เงาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความ
สมจริงตามธรรมชาติ