Page 308 - kpi20858
P. 308

265






                        ล าดับที่        การสร้างระยะ                         การวิเคราะห์

                                                              การสร้างระยะในงานจิตรกรรมแห่งนี้ โดยมากใช้หลักทัศนีย

                                                              วิทยาแบบบรรยากาศ ด้วยเหตุที่เนื้อหาในฉากตอนส่วน
                                                              ใหญ่มีความเกี่ยวข้องกับฉากธรรมชาติ เป็นสถานที่
                                                              ภายนอกอาคารสถาปัตยกรรม จากภาพแสดงระยะหลังของ

                                                              ฉากตอนพระพุทธเจ้าโปรดช้างนาฬาคิรี จะเห็นถึงวิธีการ
                         14ค
                                                              ก าหนดค่าน ้าหนักของสี และเสง-เงา ให้เบาบางกว่าที่ระยะ

                                                              หน้า เพื่อเป็นการสร้างระยะโดยการอาศัยคุณสมบัติของสี
                                                              อย่างไรก็ตามจากภาพสามารถพบเห็นวิธีการสร้างระยะ

                                                              ด้วยทัศนียวิทยาเชิงเส้นโดยอาศัยการจัดกลุ่มรูปทรง และ
                                                              การสร้างระยะด้วยหลักการลดหลั่นขนาดของรูปทรงใน

                                                              ภาพเดียวกัน




                                                              ภายในภาพจิตรกรรมฉากตอนพระพุทธเจ้าจึงเทศนาสั่ง
                                                              สอนองคุลีมาล มีการก าหนดขนาดของรูปทรงมนุษย์ที่

                                                              ค่อยๆลดหลั่นลง ส่งผลให้เกิดการสร้างระยะขึ้นภายใน
                          9ค
                                                              ภาพจิตรกรรม นอกจากนี้การก าหนดค่าน ้าหนักของสียัง

                                                              ค่อยๆพร่าเลือนลงในระยะหลัง เพื่อส่งเสริมให้เกิดความ
                                                              ลึกลวงอย่าสมจริง





                       ตารางที่ 14 มุมมองและการสร้างระยะในงานจิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถ วัดสามแก้ว จังหวัดชุมพร โดยพระยา
                                         อนุศาสน์ จิตรกร

                       ที่มา: ผู้วิจัย


                              การสร้างมุมมองและระยะของงานจิตรกรรมแห่งนี้ มีการน าเสนอภาพในระดับสายตา เพื่อ
                       ให้ผู้ชมเกิดความรู้สึกมีส่วนร่วมกับเหตุการณ์  และสร้างระยะให้เกิดความลึกลวงด้วยหลักการทาง

                       ทัศนียวิทยา  โดยมีทัศนียวิทยาเชิงเส้นเพียงเล็กน้อย  ด้วยเหตุที่เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นฉากตอนที่อยู่

                       ในฉากธรรมชาติ ซึ่งสอดคล้องกับการน าเสนอทัศนียวิทยาแบบบรรยากาศ จิตรกรอาศัยคุณสมบัติ

                       ของสี สร้างการลดหลั่นของค่าน ้าหนัก แสงและเงา ตลอดจนการก าหนดขนาดของรูปทรงในระยะ
                       หน้าและระยะหลังให้แตกต่างกัน
   303   304   305   306   307   308   309   310   311   312   313