Page 346 - kpi20767
P. 346

321

                       ระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักการมีส่วนร่วม ต่ ากว่ากลุ่ม

                       ตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานระหว่าง 1-5 ปี ( X = 3.85)

                               ด้านหลักความรับผิด โดยกลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานระหว่าง
                       6-10 ปี ( X = 3.67) เห็นว่ามีการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนา

                       ระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลในองค์ประกอบหลักความรับผิดต่ ากว่ากลุ่มตัวอย่าง

                       ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานระหว่าง 1-5 ปี ( X = 3.91) โดยกลุ่มตัวอย่างผู้ตอบ
                       แบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานมากกว่า 10 ปี ( X = 3.59) มีการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์

                       ชาติในด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลใน

                       องค์ประกอบหลักความรับผิดชอบต่ ากว่ากลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างาน
                       ระหว่าง 1-5 ปี ( X = 3.91) และต่ ากว่ากลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประสบการณ์ท างานน้อย

                       กว่า 1 ปี  ( X = 3.87)

                               กล่าวโดยสรุปจะพบว่า บุคลากรของกรมฯ ทั้งสามกรมที่มีประสบการณ์การท างานน้อย
                       กว่าบุคลากรที่มีประสบการณ์สูง เห็นด้วยว่าการด าเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุล

                       และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้ หลักธรรมาภิบาล ก าลังขับเคลื่อนไปได้ในทุกด้านๆ ยกเว้น

                       ด้านความคุ้มค่า ที่พบว่า ความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน เหตุที่เป็นเช่นนี้จึงเป็นสัญญาณที่ดีต่อการ
                       ขับเคลื่อนการด าเนินงานโดยบุคลากรรุ่นใหม่ที่ยังมีทัศนคติเชิงบวกต่อการด าเนินงานของกรม

                       บุคลากรเหล่านี้จึงเป็นก าลังส าคัญที่ผู้บริหารของกรมต้องให้ความส าคัญ โดยบังคับบัญชาภายใต้หลัก

                       ความรู้ความสามารถ สร้างขวัญก าลังใจและสร้างแรงจูงใจในการท างานเพื่อรักษาให้บุคลากรเหล่านี้
                       คงอยู่กับองค์กรต่อไป


                               ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีค่าคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการ

                       ด าเนินงานในปี 2560 ที่ผ่านเกณฑ์

                               1. จากผลการวิจัยที่พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้าน
                       การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ

                       โดยรวม มีจ านวน 5 ปัจจัย ซึ่งสามารถเรียงล าดับจากตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการผันแปรในตัวแปรตาม

                       ในแบบคะแนนมาตรฐานมากที่สุดไปหาน้อย  ดังนี้ ปัจจัยด้านผู้น า   ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม
                       ปัจจัยด้านกลุ่มเป้าหมาย ปัจจัยการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก

                               การที่ปัจจัยด้านผู้น ามีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาตินั้น ชี้ว่า การ

                       ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติจ าประสบความส าเร็จได้ขึ้นอยู่กับผู้น าที่มีความรู้ความสามารถในการ
                       บริหารงานเป็นอย่างดี มีส่วนร่วมในการก าหนดแนวทางในการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร

                       จัดการ มีวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติงาน  ในส่วนปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม ผู้ตอบแบบสอบถามมี

                       ความเห็นว่า บุคลากรที่ปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายและเสร็จตามเวลาที่ก าหนด เข้าใจทิศทางและกล
   341   342   343   344   345   346   347   348   349   350   351