Page 351 - kpi20767
P. 351

326

                       โดยบุคลากรรุ่นใหม่ที่ยังมีทัศนคติเชิงบวกต่อการด าเนินงานของกรม ผู้บริหารของกรมต้องให้

                       ความส าคัญ โดยบังคับบัญชาภายใต้หลักความรู้ความสามารถ สร้างขวัญก าลังใจ สร้างแรงจูงใจในการ

                       ท างานและจัดการความรู้ภายในองค์การ ถ่ายทอดจากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง เรียนรู้งานทางลัด เพื่อรักษาให้
                       บุคลากรเหล่านี้คงอยู่กับองค์กรต่อไป

                                 4. จากผลการวิจัยที่พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน

                       ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ
                       โดยรวมมีจ านวน 3 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้น า ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม และปัจจัยด้าน

                       สภาพแวดล้อมภายนอก โดยพบว่าปัจจัยที่กรมทั้งสามไม่สามารถควบคุมได้คือ ปัจจัยด้านผู้น า และ

                       ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก ส าหรับปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรมองค์กรของทั้งสามกรมฯ
                       พบว่ามีส่วนผสมของวัฒนธรรมแบบระบบราชการและการท างานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ ทว่าการ

                       ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรร

                       มาภิบาลขององค์การภาครัฐให้ประสบความส าเร็จได้นั้น จ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยการท างานเชิงรุก
                       มากขึ้น ดังนั้นกรมฯ จ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องสามารถท างานภายใต้ทรัพยากรที่จ ากัดให้เกิดประสิทธิภาพ

                       และคุ้มค่า โดยสร้างนวัตกรรมการท างานร่วมกับภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาชนเพื่อส่งมอบ

                       บริการสาธารณะให้กับประชาชน


                                ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีค่าคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการ

                       ด าเนินงานในปี 2560 ที่ผ่านเกณฑ์
                                 1.  จากผลการวิจัยที่พบว่า ระดับปัจจัยที่ส่งต่อการด าเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลในระดับ

                       มากแต่น้อยกว่าปัจจัยอื่น ๆ ดังนั้น รัฐบาลต้องทบทวนภารกิจและงบประมาณให้สอดคล้อง จัดล าดับความ

                       เร่งด่วนในการท างาน
                                 2.  จากผลการวิจัยที่พบว่า หลักการมีส่วนร่วม แม้ว่าค่าเฉลี่ยจะอยู่ในระดับสูงแต่น้อยกว่า

                       ด้านอื่นๆ ดังนั้น กรมทั้งสามจึงควรด าเนินการด้านต่างๆ เหล่านี้ให้มากขึ้น เช่น การรับฟังความคิดเห็นและ

                       ข้อเสนอแนะจากประชาชนในพื้นที่และหน่วยงานอื่น การประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงให้ประชาชนเข้ามามี
                       ส่วนร่วมในการด าเนินงานด้านต่าง ๆ  การเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมกันเสนอปัญหาและความต้องการอยู่

                       เสมอ การเปิดโอกาสให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมด าเนินการจัดบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ

                       ต่าง ๆ  การสนับสนุนงบประมาณในการท ากิจกรรมของประชาชน เพิ่มความหลากหลายของประชาชนใน
                       การเข้ามามีส่วนร่วมไม่ใช่เพียงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น

                                 3.  จากผลการวิจัยที่พบว่า   ปัจจัยด้านผู้น า ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม ปัจจัยด้าน
                       กลุ่มเป้าหมาย ปัจจัยการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก  ส่งผลต่อ

                       การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ  ในด้านปัจจัยด้านผู้น า การมีผู้บริหารที่มาจากหน่วยงานภายใน

                       น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีเนื่องจากทราบภารกิจของกรมฯ ท าให้งานหรือการติดต่อประสานงานท าได้
   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356