Page 348 - kpi20767
P. 348

323

                       ระหว่างรัฐกับประชาชน เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความส าเร็จในการน านโยบายแก้ไขบัญหายาเสพติดไป

                       ปฏิบัติ และจากการศึกษาของ วรานิษฐ์ ล าใย (2557) เรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการที่ดี

                       ขององค์การบริหารส่วนต าบลเพื่อพัฒนาชุมชนในพื้นที่ภาคตะวันตก ซึ่งอธิบายถึงองค์ประกอบที่มีผล
                       ต่อรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีขององค์การบริหารส่วนต าบลเพื่อพัฒนาชุมชน ในชื่อ“WEST

                       BENEFIT Model” โดยเครือข่ายการสื่อสารที่มีประสิทธิผลเป็นองค์ประกอบที่มีผลต่อ WEST

                       BENEFIT Model ส่วนปัจจัยซึ่งเป็นเงื่อนไขความส าเร็จในการบริหารจัดการที่ดีขององค์การบริหาร
                       ส่วนต าบลเพื่อพัฒนาชุมชนได้แก่ ปัจจัยการสื่อสารร่วมกัน

                                นอกจากนี้ จากการศึกษาของ รัฐกร กลิ่นอุบล (2551) เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความส าเร็จใน

                       การน านโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนต าบลในภาคกลาง
                       พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อความส าเร็จในการน านโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปสู่การปฏิบัติ

                       ได้แก่ ปัจจัยด้านการสื่อสารระหว่างองค์กรต่างๆ งานวิจัยของรัฐกร กลิ่นอุบล (2551) เรื่องปัจจัยที่มี

                       ผลต่อความส าเร็จในการน านโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติขององค์การบริหารส่วน
                       ต าบลในภาคกลางซึ่งได้อธิบายไว้ว่า ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง หรือปัจจัย

                       สภาพแวดล้อมภายนอกนั้น เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความส าเร็จในการน านโยบายการบริหารกิจการ

                       บ้านเมืองที่ดีไปปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนต าบลในภาคกลาง  และสอดคล้องกับผลการศึกษาของ
                       ฐิติพงศ์ วิชัยสาร และ วนิดา สุวรรณนิพนธ์ (2561) เรื่องความส าเร็จในการบริหารราชการส่วน

                       ภูมิภาคอย่างยั่งยืน ซึ่งสรุปได้ว่า กระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม เป็นปัจจัยส าคัญที่มีอิทธิพลต่อ

                       ความส าเร็จของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคอย่างยั่งยืน
                                 ในขณะที่จากผลการศึกษาของ ชยุต มารยาทตร์ และไชยา ยิ้มวิไล (2560) เรื่องการ

                       บริหารจัดการสถานีต ารวจตามหลักธรรมาภิบาลของหัวหน้าสถานีต ารวจนครบาล ได้อธิบายว่า

                       วัฒนธรรมในการใช้เส้นสาย ท าให้การท างานไม่มีประสิทธิภาพ กระบวนการท างานล่าช้า มีขั้นตอน
                       มาก ส่งผลท าให้ประชาชนไม่ได้รับบริการที่ดี ท าให้งานของต ารวจไม่มีประสิทธิภาพไม่เกิดประสิทธิผล

                       เท่าที่ควร ซึ่งได้สรุปว่าปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรมองค์การ และปัจจัยผู้น าเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการ

                       บริหารจัดการสถานีต ารวจตามหลักธรรมาภิบาลของหัวหน้าสถานีต ารวจนครบาล ส่วนผลการศึกษา
                       ของ วรชัย สิงหฤกษ์ และประสพชัย พสุนนท์ (2559) เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการน าหลักธรรมาภิบาลมา

                       ใช้ในการบริหารจัดการของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จ ากัด ได้พบว่าปัจจัยด้าน

                       ค่านิยม/วัฒนธรรมของหน่วยงาน มีอิทธิพลต่อความส าเร็จของการน าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการ
                       บริหารจัดการของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทยจ ากัด ตลอดจนผลการศึกษาของ ก าจร

                       อ่อนค า, รัฐบุรุษ คุ้มทรัพย์, รณัน จุลชาต และอภิวัฒน์ พลสยม (2559) เรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อ

                       ความส าเร็จกับการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนต าบลตะเคียน อ าเภอด่าน
                       ขุนทด จังหวัดนครราชสีมาพบว่า ปัจจัยด้านภาวะผู้น าของผู้บริหารงานในองค์กรส่งผลต่อความส าเร็จ

                       กับการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนต าบลตะเคียน
   343   344   345   346   347   348   349   350   351   352   353