Page 341 - kpi20767
P. 341

316



                                  5) การเข้าร่วมการประกวดองค์กรโปร่งใสของ ป.ป.ช. และหน่วยงานอื่นๆ

                       โดยเป็นการประเมินจากภาพรวมขององค์กร ว่าไม่มีเรื่องร้องเรียน ไม่มีการสอบวินัยการกระท าผิด
                                  6) สร้างวัฒนธรรมสุจริต เริ่มตั้งแต่การปฐมนิเทศบุคลากร เพื่อสร้างความภาคภูมิใจ

                       ในองค์กรว่าไม่มีเรื่องการทุจริต และปลูกฝังให้ท างานอย่างสุจริต

                               3.6 การวิเคราะห์ข้อสนเทศเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ
                       ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม สามารถสรุปได้ดังนี้

                                  1) การส่งเสริมให้ภาคประชาชนมาจดทะเบียนกับกรมฯ จากนั้นกรมฯ จะส่งเสริมให้

                       กลุ่มเหล่านี้มีบทบาท ให้เข้าไปแป็นกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ให้ได้รับเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม ให้มี
                       ส่วนร่วมระดับนโยบาย ท าให้ได้รับความไว้ใจจากภาคประชาชน

                                  2) การเข้าร่วมการประกวดองค์กรโปร่งใสของ ป.ป.ช. และหน่วยงานอื่นๆ โดยเป็น

                       การประเมินจากภาพรวมขององค์กร ว่าไม่มีเรื่องร้องเรียน ไม่มีการสอบวินัยการกระท าผิด
                                  3) สร้างวัฒนธรรมสุจริต เริ่มตั้งแต่การปฐมนิเทศบุคลากร เพื่อสร้างความภาคภูมิใจใน

                       องค์กรว่าไม่มีเรื่องการทุจริต และปลูกฝังให้ท างานอย่างสุจริต


                       6.3 อภิปรายผลการวิจัย

                               จากผลการวิจัยเรื่อง “ความท้าทายในประเด็นธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์

                       ชาติ” มีประเด็นซึ่งสามารถน ามาสู่การอภิปรายผลการวิจัยได้ ดังนี้

                               ส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีค่าคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
                       ด าเนินงานในปี 2560 ที่ไม่ผ่านเกณฑ์

                               1. จากผลการวิจัยที่พบว่า ระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ

                       ภายใต้หลักธรรมาภิบาลค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากจ านวน 11 ปัจจัย และมีค่าเฉลี่ยในระดับปานกลาง
                       จ านวน 1 ปัจจัย โดยเรียงล าดับปัจจัยมีค่าเฉลี่ยจากมากที่สุด 3 ล าดับแรกได้ดังนี้ ปัจจัยด้านผู้น า มี

                       ค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์การ และปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม

                               การที่ปัจจัยด้านผู้น ามีความส าคัญมากอันดับที่ 1  กล่าวคือ บุคลากรของกรมฯ มีความเห็น
                       ว่าผู้บังคับบัญชามีความรู้ความสามารถในการบริหารงานเป็นอย่างดี บุคลากรในกรมฯ มีส่วนร่วมใน

                       การก าหนดแนวทางในการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ผู้น ามีวิสัยทัศน์ในการ

                       ปฏิบัติงาน  ในขณะที่ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบข้อมูลเพิ่มเติมว่า ความต่อเนื่องในการปฏิบัติงานของ
                       ผู้บริหาร มีความส าคัญเช่นกัน ดังจะเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารของกรมการท่องเที่ยว ส่งผล

                       ให้การด าเนินงานของกรม เช่น การจัดท ามาตรฐานการท่องเที่ยวไม่สามารถเดินต่อได้ อีกทั้งในด้าน

                       ความรู้ความสามารถของผู้บริหาร กรมการท่องเที่ยวให้ความเห็นว่า ความรู้ในงานของผู้บริหารอาจไม่
                       ส าคัญเท่าความสามารถในการบริหารงาน เช่น การใช้แรงจูงใจ เพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทุ่มเทท างาน
   336   337   338   339   340   341   342   343   344   345   346