Page 322 - kpi20767
P. 322

297


                                                            บทที่ 6



                                       สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ



                               โครงการวิจัยเรื่อง “ความท้าทายในประเด็นธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ”
                       ในครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์

                       เพื่อศึกษา 1) ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร

                       จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ 2) เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์
                       ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล จ าแนกตามปัจจัย

                       ส่วนบุคคล 3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนา

                       ระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ 4) สภาพปัญหาและอุปสรรคในการ
                       ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ และ 5) แนวทางในการพัฒนาการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้าน

                       การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์การภาครัฐ  สามารถสรุปและอภิปรายผลได้

                       ดังนี้


                       6.1 สรุปผลการวิจัยเชิงปริมาณ


                               โครงการวิจัยเรื่อง “ความท้าทายในประเด็นธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ”

                       สามารถสรุปผลการวิจัย ได้ดังนี้


                               1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
                                 1.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างในองค์การภาครัฐซึ่งเป็นส่วนราชการ

                       ระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีค่าคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานในปี 2560 ที่ไม่ผ่าน

                       เกณฑ์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 306 ตัวอย่าง สังกัดหน่วยงานกรมส่งเสริมการ
                       ปกครองท้องถิ่น โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 102 คน (f = 102) คิดเป็นร้อยละ 33.33 (33.33 %) รองลงมา

                       สังกัดหน่วยงานกรมการท่องเที่ยว โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 102 คน (f = 102) คิดเป็นร้อยละ 33.33

                       (33.33 %) และสุดท้ายสังกัดหน่วยงานกรมกิจการผู้สูงอายุ โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 102 คน (f = 102)
                       คิดเป็นร้อยละ 33.33 (33.33 %) ส่วนใหญ่สังกัดกองพัฒนาบริการท่องเที่ยว โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 42

                       คน (f = 42) คิดเป็นร้อยละ 12.50 (12.50 %) รองลงมาสังกัดกองส านักพัฒนาและส่งเสริมการ

                       บริหารงานท้องถิ่น โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 37 คน (f = 37)  คิดเป็นร้อยละ 59.00 (12.50 %) และ
                       สังกัดกองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 28 คน (f = 28) คิดเป็นร้อยละ 9.50 (9.50

                       %) ส่วนใหญ่มีต าแหน่งเป็นข้าราชการ โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 185 คน (f = 185) คิดเป็นร้อยละ 60.46

                       (60.46 %) มีต าแหน่งเป็นพนักงานราชการ โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 65 คน (f = 65) คิดเป็นร้อยละ
                       21.24 (21.24 %) มีต าแหน่งเป็นลูกจ้างชั่วคราว โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 38 คน (f =38) คิดเป็นร้อยละ
   317   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327