Page 318 - kpi20767
P. 318

293



                                     1. ประชาชนฉลาดซื้อ-ฉลาดใช้ หมายถึง พฤติกรรมการเลือกซื้อเลือกใช้สินค้าและ
                       บริการของประชาชนที่ปรับเปลี่ยนไป ได้แก่ ปริมาณการซื้อที่ลดลง บริโภคเท่าที่จ าเป็น (ปริมาณ/

                       คุณภาพ/เวลา) ไม่ตกเป็นเหยื่อโฆษณา ยอมจ่ายแพงกับสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

                                     2. มีสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Product) เพิ่มขึ้นมากมาย
                       และหลากหลายประเภท

                                     3. มีตลาดส าหรับสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Market)

                       แพร่หลาย และประชาชนสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการเหล่านี้ได้ง่ายและสะดวกสบายยิ่งขึ้น (ทั้งนี้
                       โดยค านึงถึง ราคา ช่องทางการจัดจ าหน่าย ที่เหมาะสมกับแต่ละประเภท ของสินค้าและบริการ)

                                     4. มีการจัดการของเหลือหลังการอุปโภคบริโภค หมายรวมถึง การลดปริมาณวัสดุ

                       เหลือใช้จากการอุปโภค บริโภค รวมทั้งบรรจุภัณฑ์ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น 3Rs (Reduce, Reuse,
                       Recycle) เป็นต้น


                              6. หลักความคุ้มค่า

                                     กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมมีภารกิจ คือ  1) สื่อสารและเพิ่มประสิทธิภาพการ

                       เข้าถึงองค์ความรู้และสารสนเทศสิ่งแวดล้อม 2) สร้างจิตส านึก เพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถ

                       ของประชาชนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 3) สร้างเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วน

                       ร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และ 4) ศึกษา วิจัย รวบรวม พัฒนาสารสนเทศ

                       องค์ความรู้และนวัตกรรมในการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ซึ่งชี้ให้เห็นว่ากรมใช้หลักความคุ้มค่าใน

                       การท างาน


                               ตอนที่ 2.3.2 ปัจจัยความส าเร็จในการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติฯ ภายใต้หลัก
                       ธรรมาภิบาลของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

                               ปัจจัยความส าเร็จในการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติฯ ภายใต้หลักธรรมาภิบาลของกรม

                       ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้แก่
                                     1. มีกฎหมายและวิธีการ ขั้นตอนในการด าเนินการกระบวนการยุติธรรมที่เป็น

                       ธรรม เที่ยงตรง ตรวจสอบการท างานได้ทุกขั้นตอน

                                     2. มีเวทีเปิดโอกาสให้ประชาชนมีบทบาทในการแสดงความคิดเห็น
                                     3. มีบุคลากรผู้ที่มีความรู้ความสามารถที่ตรงกับสายงาน

                                     4. การได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง

                                     5. มีการสร้างความเข้าใจ และพัฒนาความร่วมมือในการบูรณาการการท างาน ไม่
                       เฉพาะในระดับกรมฯ แต่มีการสร้างความร่วมมือระหว่างกระทรวงที่เกี่ยวข้อง

                                     6. มีการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วมและเสนอความคิดเห็นใน
   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323