Page 239 - kpi20767
P. 239
214
เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ใหบุคลากรในสังกัดกรมส่งเสริมการ
ปกครองท้องถิ่น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และบุคคลทั่วไปที่สนใจทราบ
สอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงปริมาณที่พบว่า ความส าเร็จในการด าเนินงานตามหลัก
ธรรมาภิบาลขึ้นอยู่กับผู้บริหารของกรมมีการก าหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการปรับสมดุลและ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการชัดเจน มีการก าหนดแนวทางในการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรม และ
สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
ตอนที่ 2.3.3 สภาพปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติฯ ภายใต้
หลักธรรมาภิบาลของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
1. ปัญหาการท างานระดับอ าเภอ เนื่องจากท้องถิ่นอ าเภอท าหน้าที่ช่วยนายอ าเภอในการ
ก ากับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ที่ผ่านมา ไม่มีกฎหมายรองรับสถานะทางกฎหมาย
“...ภารกิจของกรม ไม่ได้เฉพาะที่กรมท า เรายังไปเอาภารกิจอื่นของกรมอื่นมาด้วย แต่
ยังถ่านโอนมาไม่หมด ซึ่งเพิ่มขึ้นมากในอนาคต ในระดับอปท.และอ าเภอ ปัจจุบันท้องถิ่น
อ าเภอช่วยนายอ าเภอในการก ากับอปท. แต่การท างานที่ผ่านมา ไม่มีกฎหมายรองรับสถานะ
ทางกฎหมาย ทาง กพร.บอก ใช้เทคโนโลยีได้หรือไม่ แทนที่จะเอาคนลงไป จริงๆ กรมฯ มี
ระบบสารสนเทศให้บริการอปท.และประชาชนหลายเรื่อง ช่วยในเรื่องการท างารได้ส่วนหนึ่ง
บางระบบข้อมูลยังไม่เสถียร ไม่ครบนัก”
(ผู้ให้สัมภาษณ์ 1)
“...ในด้านหลักธรรมาภิบาลที่มีการด าเนินงานน้อยที่สุดคือ หลักรับผิดชอบ ซึ่งการมี
ท้องถิ่นอ าเภอ เพื่อตอบสนองแก้ไขปัญหาของ อปท. ฝากความหวังหน่วยงานที่ท าหน้าที่ใน
การก าหนดโครงสร้างองค์การต่างๆ อาจต้องมีข้อมาดูว่าความจ าเป็นของหน่วยงานในการ
ตั้งขึ้นมาและวางสถานะบทบาท มันมีความจ าเป็นในการท าเรื่องนี้ ไม่ใช่ยึดติดที่จะไม่ขยาย
เลย ใช้คนเดิม ไม่ได้เป็นภาระของประเทศ เป็นเรื่องขวัญก าลังใจ เขาท างานให้ท้องถิ่น และ
นายอ าเภอ ผู้บริหารกรมพยายามผลักดัน หากขวัญก าลังใจของคนในหน่วยงานดี ทุกอย่าง
จะไปได้ดี ซึ่งจะโยงมาสู่เครื่องไม้เครื่องมือ เราต้องไปอาศัยยืมเขา ยืม อปท.ก็มี เราไปท างาน
อปท. เขาเห็น มีอะไรช่วยได้ เขาก็ช่วย เช่น อุปกรณ์ ส่งคนมาช่วยท างาน เป็นต้น เนื่องจาก
หากโครงสร้างเถื่อน งานก็ไปไม่ได้”
(ผู้ให้สัมภาษณ์ 2)