Page 61 - kpi20761
P. 61
60
ซึ่งท�าให้ลูกจ้างมีสิทธิในค่าชดเชย อีกทั้งเปิดโอกาสให้คณะกรรมการ
ค่าจ้างก�าหนดอัตราค่าจ้างที่แตกต่าง (แต่ไม่ต�่าไปกว่าค่าจ้างขั้นต�่า) ส�าหรับ
แรงงานในบางสาขาวิชาชีพหรือบางกลุ่มประเภทกิจการได้ โดยพิจารณา
ถึงทักษะฝีมือ ความรู้ความสามารถ อันแสดงถึงเจตนารมณ์ที่รัฐต้องการ
มุ่งเน้นการพัฒนาแรงงานฝีมือและการให้กฎหมายแรงงานสอดรับกับ
สถานการณ์ด้านประชากรผู้สูงอายุนั่นเอง
สรุป ในภาพรวมของพัฒนาการกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
สามารถสรุปได้ถึงความพยายามที่รัฐบาลไทยต้องการเน้นมาตรการ
การเพิ่มคุ้มครองให้กับลูกจ้างผู้ใช้แรงงานตลอดจนการพัฒนาทักษะ
ฝีมือแรงงานเป็นส�าคัญ
(๒) กฎหมำยเงินทดแทน
ควำมเป็นมำ นับตั้งแต่พระราชบัญญัติแรงงาน ๒๔๙๙ ตลอดจน
ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องการคุ้มครองแรงงานอาศัยอ�านาจตาม
ความในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๑๙ และฉบับที่ ๑๐๓ กฎหมาย
ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเงินทดแทนนั้นถูกจัดให้อยู่ควบคู่กับกฎหมายที่มีเนื้อหา
เกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานเสมอมา จนกระทั่งปี ๒๕๓๗ ได้มีการตัดทอน
ข้อความที่มีเนื้อหาในการให้ความคุ้มครองลูกจ้างที่ประสบอันตราย
บาดเจ็บ ตายหรือสูญหายอันเนื่องจากการท�างาน ซึ่งส่งผลให้ลูกจ้าง
คนดังกล่าวหรือผู้มีสิทธิตามกฎหมายสามารถได้รับประโยชน์ทดแทนเยียวยา
ความสูญเสียที่เรียกกว่า “เงินทดแทน” ออกมาบัญญัติไว้เป็นกฎหมาย
เฉพาะต่างหากในชื่อว่า “พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗” ๘๒
๘๒ รก. เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๘ ก ลว ๒๘ มิถุนายน ๒๕๓๗
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 60 13/2/2562 16:24:09