Page 57 - kpi20761
P. 57

56


                 สิ้นสุดลงกับทั้งต้องแจ้งให้อธิบดีกรมการจัดหางานทราบถึงการดังกล่าวนี้
                 ด้วย  ในทางตรงกันข้ามหากสัญญาจ้างสิ้นสุดก่อนระยะเวลาที่ก�าหนด
                    ๗๖
                 ไว้โดยไม่อาจโทษฝ่ายลูกจ้างต่างด้าวได้ ก็ไม่ท�าให้สิทธิในการท�างานของ
                 ต่างด้าวในราชอาณาจักรสิ้นสุดลง ลูกจ้างต่างด้าวสามารถเปลี่ยนนายจ้าง
                 ได้ภายใต้เงื่อนไขที่นายจ้างใหม่ยินยอมรับลูกจ้างเข้าท�างานด้วยการวาง

                 หลักประกัน แต่ทั้งนี้แรงงานต่างด้าวจะต้องหานายจ้างใหม่ภายใน ๑๕ วัน
                 นับแต่สัญญาจ้างฉบับเดิมสิ้นสุดลง มิเช่นนั้นจะต้องถูกส่งกลับภูมิล�าเนา

                                                                 ๗๗
                 ด้วยความรับผิดในภาระค่าใช้จ่ายของนายจ้างรายเดิม  อันสะท้อน
                 ให้เห็นถึงการเคารพและคุ้มครองสิทธิในการประกอบอาชีพของต่างด้าว
                 ในราชอาณาจักรไทยเพิ่มขึ้น


                         ข้อน่าสังเกตเพิ่มเติมของกฎหมายฉบับนี้คือ การก�าหนด
                 บทคุ้มครองให้กับฝ่ายนายจ้างไว้ประกอบด้วยส�าหรับกรณีที่ผู้ประกอบ

                 ธุรกิจน�าต่างด้าวเข้ามาท�างาน  เป็นผู้ผิดสัญญาจ้าง
                                          ๗๘


                         สรุป กล่าวโดยสรุปบทกฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหาร

                 จัดการแรงงานต่างด้าวของไทยในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นความชัดเจน
                 ในการยอมรับถึงความจ�าเป็นของแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยมากขึ้น

                 อีกทั้งการให้ความคุ้มครองกับแรงงานดังกล่าวที่ชัดเจนและสอดรับกับ
                 หลักการเคารพสิทธิมนุษยชนมากขึ้น แต่กระนั้นในทางปฏิบัติ ดูเหมือนว่า
                 การประกาศใช้กฎหมายฉบับใหม่นี้ กลายเป็นอุปสรรคในการประกอบธุรกิจ




                 ๗๖  พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๐
                 ๗๗  พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๑
                 และมาตรา ๕๓
                 ๗๘
                    พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๕๓
                 มาตรา ๕๔ และมาตรา ๕๘





         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   56                                     13/2/2562   16:24:09
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62