Page 55 - kpi20761
P. 55
54
ต่างด้าวต่อไป ซึ่งกองทุนฯ ดังกล่าวก็ได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ “กองทุนเพื่อ
๖๐
การบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว” และขยายวัตถุประสงค์การน�า
เงินกองทุนมาใช้จ่ายให้มากขึ้นอันสอดรับกับขอบเขตของกฎหมายที่มี
ความครอบคลุมและคุ้มครองตัวลูกจ้างต่างด้าวมากขึ้นนั้นเอง แต่โดยรวมแล้ว
หลักการส�าคัญก็ยังคงยึดถือตามแนวทางของกฎหมายฉบับเดิมอยู่ ๖๑
อย่างไรก็ตาม ข้อน่าสนใจส�าหรับกฎหมายฉบับใหม่ก็คือ
การยอมรับถึงความต้องการแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยมากขึ้นอย่าง
เป็นรูปธรรม กล่าวคือ มีการยอมรับให้นิติบุคคลประเภทบริษัทจ�ากัดและ
บริษัทมหาชนจ�ากัดที่มีสัญชาติไทย (โดยพิจารณาจากทั้งทุนและจ�านวนหุ้น
๖๒
ที่คนไทยถือครอง) ประกอบธุรกิจการน�าคนต่างด้าวเข้ามาท�างาน
ในประเทศ ซึ่งหากมองผิวเผินแล้วอาจมีลักษณะคล้ายกับการจัดหางาน
ให้กับคนต่างด้าวแต่เป็นการหางานด้วยการน�าเข้าซึ่งแรงงานตามความ
ต้องการของผู้ประกอบกิจการในประเทศไทย มิใช่การที่คนต่างด้าวเข้ามา
อยู่ในราชอาณาจักรไทยแล้วจะเข้าขอใช้บริการจัดหางาน กระนั้น
๖๓
๖๔
ธุรกิจประเภทนี้ถือเป็นธุรกิจไทยที่ได้ถูกควบคุมโดยระบบใบอนุญาต
ซึ่งมีความเคร่งครัดในประเด็นต่างๆ ตั้งแต่องค์ประกอบของนิติบุคคล
ผู้บริหารที่ต้องมีสัญชาติไทยและคุณสมบัติตามที่กฎหมายก�าหนด
๖๕
ทุนจดทะเบียน การวางหลักประกัน การตั้งลูกจ้างตัวแทนเพื่อน�า
๖๗
๖๖
๖๑ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๕
๖๒ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗
๖๓
โปรดศึกษาพระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐
มาตรา ๒๓
๖๔ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา
๓๐ – มาตรา ๓๔
๖๕ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗
(๗) (ก) – (ซ)
๖๖
พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗ (๑)
๖๗ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๘
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 54 13/2/2562 16:24:09