Page 56 - kpi20761
P. 56
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 55
คนต่างด้าวเข้ามาท�างาน การใช้ชื่อกิจการ การท�าสัญญา การรับ
๖๘
๗๐
๖๙
ค่าบริการจากนายจ้างในฐานะนายหน้าจัดหางาน และห้ามเรียก
๗๑
๗๒
ค่านายหน้าเพิ่มเติมจากตัวลูกจ้างต่างด้าว นอกจากนี้แล้ว ผู้ประกอบ
ธุรกิจดังกล่าวจะต้องท�ารายงานสถานการณ์รายเดือนของกิจการเพื่อแจ้ง
๗๓
ให้กระทรวงแรงงานทราบ อีกส่วนหนึ่งด้วย
การที่รัฐบาลไทยยอมรับถึงความต้องการในการใช้แรงงานต่างด้าว
ของนายจ้างในประเทศไทยได้ขยายขอบเขตขึ้นไปอีก จนท�าให้นายจ้างอาจ
เป็นผู้น�าเข้าแรงงานต่างด้าวเองโดยการขออนุญาตและวางหลักประกัน
ตลอดจนการปฏิบัติตามเงื่อนไขต่างๆ ที่ก�าหนดไว้ในกฎหมายล�าดับรอง
๗๔
กระนั้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการคุ้มครองสิทธิของแรงงาน
ต่างด้าว พระราชก�าหนดฉบับนี้จึงก�าหนดไว้เป็นข้อห้ามเด็ดขาดที่นายจ้าง
ไม่สามารถรับเงินหรือทรัพย์สินใดๆ อันเนื่องจากการที่ตนได้น�าต่างด้าวนั้น
๗๕
เข้ามาท�างานได้ ยิ่งไปกว่านั้น การที่สัญญาจ้างสิ้นสุดลงด้วยเหตุ
ตามเงื่อนเวลาในสัญญาก็ดี ด้วยเหตุที่จะโทษฝ่ายนายจ้างไม่ได้ก็ดี นายจ้าง
ย่อมมีหน้าที่ในการจัดส่งต่างด้าวกลับภูมิล�าเนาภายใน ๗ วันนับแต่สัญญา
๖๘ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓๕
มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐
๖๙
พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา
๔๔ – มาตรา ๔๕
๗๐ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๑
๗๑ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๒
วรรค ๑
๗๒
พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา
๔๒ วรรค ๒
๗๓ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๓
๗๔ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๖
– มาตรา ๔๘ และมาตรา ๖๑
๗๕ พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๙
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 55 13/2/2562 16:24:09