Page 51 - kpi20761
P. 51

50


                 ความจ�าเป็นและความต้องการแรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบการ กระนั้น
                 กฎหมายที่ประกาศใช้ใหม่ก็ไม่ได้แสดงให้เห็นศักยภาพในการช่วยแก้ไข

                 และบรรเทาปัญหาแรงงานต่างด้าวมากเท่าใดนัก ในทางกลับกัน ภาพลักษณ์
                 การใช้แรงงานต่างด้าวของประเทศไทยที่ปรากฏในสายตานานาประเทศ
                 กลับกลายเป็นว่า มีการใช้แรงงานต่างด้าวที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานแรงงาน

                 ขั้นต�่า เช่น ได้รับค่าตอบแทนที่ไม่เท่าเทียมกับคนในชาติ มีสภาพการท�างาน
                 ที่เลวร้าย มีการกระท�าอันเป็นการคุกคาม เหยียดยาม เลือกปฏิบัติ และ

                 การปฏิบัติที่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนต่อแรงงานต่างด้าว  จนส�านักงาน
                                                                 ๔๕
                 เพื่อการติดตามและการต่อสู้กับการค้ามนุษย์ แห่งกระทรวงการต่างประเทศ
                 สหรัฐอเมริกาจัดให้ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มประเทศ Tier 3 หรือประเทศ

                 ที่ด�าเนินการไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่าตามกฎหมายด้านการค้า
                 มนุษย์ของสหรัฐฯ และไม่ได้ใช้ความพยายามอย่างมีนัยส�าคัญที่จะแก้ไข

                                               ๔๗
                                  ๔๖
                 ปัญหาการค้ามนุษย์  ในปี ๒๕๕๗  สถานการณ์ดังกล่าวท�าให้รัฐบาล
                 ไทยได้ใช้ความพยายามทุกวิถีทางในการแก้ไขปัญหาการใช้และการปฏิบัติ
                 ต่อแรงงานต่างด้าว ทั้งที่เป็นการปรับปรุงและพัฒนาบทกฎหมายและ




                 ๔๕  ธนพัฒน  พันธ์สุข, ปัญหำแรงงำนต่ำงด้ำวกับกำรละเมิดสิทธิ, วารสารการจัดการ
                 ธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา, หน้า
                 ๑๑๔ – ๑๒๕. ศศิเพ็ญ พวงสายใจ, โครงกำรสถำนะและปัญหำทำงเศรษฐกิจของ
                 ทำยำทรุ่นที่ ๒ของผู้ย้ำยถิ่นประเทศพม่ำ, (กรุงเทพฯ : ส�านักงานกองทุนสนับสนุน
                 การวิจัย, ๒๕๕๔). เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ และน�้าทิพย์ เสมอเชื้อ, โครงกำรค้ำมนุษย์
                 ในกลุ่มทำยำทรุ่นที่ ๒ ของผู้ย้ำยถิ่นจำกประเทศพม่ำ, (กรุงเทพฯ : ส�านักงานกองทุน
                 สนับสนุนการวิจัย, ๒๕๕๓). อุทัย สุขศิริ, ปัจจัยเสี่ยงต่อกำรตกเป็นเหยื่อกำรค้ำมนุษย์,
                 (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศุภนิมิต, ๒๕๕๐).
                 ๔๖
                   Nation TV, เทียร์ คืออะไร? เกี่ยวข้องอะไรกับค้ำมนุษย์ ไทยได้ เทียร์ 2 ต้องจับตำ
                 มอง?, (ออนไลน์) http://www.nationtv.tv/main/content/foreign/378554169/ (เข้าถึง
                 เมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐)
                 ๔๗  TCIJ, Timeline หลังไทยถูกจัดอันดับ Tier 3 (ปี 2557-2559), (ออนไลน์) http://www.
                 tcijthai.com/news/2016/09/watch/6417, (เข้าถึงเมื่อ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐)






         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   50                                     13/2/2562   16:24:09
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56