Page 48 - kpi20761
P. 48
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 47
(๒) กำรท�ำงำนของคนต่ำงด้ำว
ประวัติควำมเป็นมำ การจ�ากัดสิทธิในการประกอบอาชีพของ
ต่างด้าวในประเทศไทยนั้นเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมเมื่อประมาณ ๑๐๐ ปี
เศษที่ผ่านมา ก่อนหน้านั้นพลเมืองชาวไทยต้องอยู่ภายใต้ระบบสักเลก
สังกัดมูลนายท�าให้เวลาว่างจากการเข้ารับราชการก็กลับมาท�าสวนท�านา
ตามแต่วิถีชีวิตเดิมที่บรรพบุรุษของตนเคยด�าเนินมา ส่วนต่างชาติที่เข้ามา
อาศัยในประเทศไทยส่วนใหญ่ก็มักจะท�าการค้าขาย จนกระทั่งหลังปี
พ.ศ. ๒๔๔๘ ประเทศไทยมีการออกกฎหมายที่ส่งผลต่อชีวิตของพลเมือง
สัญชาติไทยอย่างมาก เช่น พระราชบัญญัติเลิกทาส ร.ศ. ๑๒๔ พระราช
บัญญัติลักษณเกณฑ์ทหาร ร.ศ. ๑๒๔ ฯลฯ อันท�าให้คนไทยมีอิสระมาก
ขึ้นที่จะประกอบสัมมาชีพเพื่อมีรายได้เลี้ยงตัวและครอบครัว หากแต่
ธุรกิจและการพาณิชย์ส่วนใหญ่ได้ถูกบริหารจัดการโดยคนต่างด้าวหรือ
บุคคลระดับสูงที่มีฐานันดรในชั้นมูลนายเดิม อันท�าให้คนไทยต้อง
กลายเป็นลูกจ้างคนงาน แต่กระนั้นจากที่ผ่านมาการเข้าสังกัดมูลนายและ
การท�าสวนท�านายามว่างท�าให้คนไทยมีลักษณะนิสัยไม่สู้งานเท่าใดนัก
เมื่อเทียบกับต่างด้าวอย่างเช่นคนจีนที่มีความมานะในการท�างานแม้จะ
เป็นงานที่ต้องใช้แรงงานกายก็ตาม ท�าให้มีการประกาศใช้กฎหมายควบคุม
การประกอบอาชีพลากรถของชาวจีนในประเทศไทย (กฎหมายกรรมกร
ลากรถ) ด้วยมุ่งหมายที่จะให้คนไทยสามารถประกอบอาชีพนี้ได้ อันถือ
๔๔
ได้ว่าเป็นกฎหมายแรงงานไทยฉบับแรกๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการท�างาน
ของคนต่างด้าวก็ว่าได้
หลังจากกฎหมายฉบับดังกล่าว นโยบายของรัฐบาลก็เริ่มมี
ความชัดเจนในการสงวนหวงห้ามอาชีพบางอย่างที่เกี่ยวกับความมั่นคง
๔๔
โปรดศึกษารายละเอียดใน พรรณี บัวเล็ก, กุลีลำกรถกับประวัติศำสตร์แรงงำนไทย,
(กรุงเทพฯ : ส�านักพิมพ์พันธกิจ, ๒๕๔๖).
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 47 13/2/2562 16:24:08