Page 45 - kpi20761
P. 45
44
ออกไปท�างานยังต่างประเทศด้วยเหตุผลเรื่องค่าตอบแทนที่สูงกว่า
การท�างานในประเทศ แต่ผลที่ได้รับกลับเป็นในทิศทางตรงกันข้าม กล่าวคือ
คนหางานที่เดินทางไปท�างานยังต่างประเทศด้วยค�าเชิญชวนของบริษัท
จัดหางาน เมื่อไปถึงแล้วกลับไม่มีงานท�าบ้าง มีการเรียกเก็บค่าบริการ
และค่าใช้จ่ายเกินสมควรในลักษณะที่เอาเปรียบคนหางานจนเกินไปบ้าง
นายจ้างในต่างประเทศไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ได้ตกลงกันไว้ทั้งเรื่อง
ค่าจ้างและลักษณะของงาน และที่เลวร้ายกว่านั้นก็คือการที่คนงานหญิง
ถูกนายจ้างรวมทั้งญาติของนายจ้าง ข่มขืน ลวนลาม ล่วงละเมิดทางเพศ
เป็นต้น ซึ่งคนหางานที่ได้รับภัยต่างๆ ดังได้พรรณามาข้างต้น มักจะหนี
ไปขอความช่วยเหลือจากกงสุลหรือสถานทูตไทย ท�าให้เกิดเป็นปัญหา
ในเรื่องภาระค่าใช้จ่ายที่รัฐบาลไทยต้องจัดสรรเพื่อหาที่อยู่อาศัย อาหาร
และค่าพานะเดินทางกลับประเทศให้กับคนหางานเหล่านี้
พระรำชบัญญัติจัดหำงำนและคุ้มครองคนหำงำน พ.ศ. ๒๕๒๘
ในที่สุดรัฐบาลไทยจึงได้ประกาศใช้ “พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครอง
๒๙
คนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘” ขึ้นแทนที่ โดยเพิ่มบทคุ้มครองคนหางาน
ที่เดินทางไปท�างานยังต่างประเทศด้วยการบัญญัติออกมาเป็นอีกส่วนหนึ่ง
ต่างหาก กับทั้งได้จัดให้มีกองทุนช่วยเหลือคนงานไทยในต่างประเทศขึ้น
เพื่อจะได้มีทุนรอนช่วยเหลือแรงงานไทยที่ต้องตกทุกข์ได้ยากในต่างแดน
กระนั้น กฎหมายฉบับนี้ก็ได้มีการแก้ไขปรับปรุงอีก ๒ ครั้งด้วยกัน กล่าวคือ
๓๐
ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ โดยมีการเพิ่มบทคุ้มครองทั้งคนหางาน
ในประเทศและหางานท�าในต่างประเทศให้มีความชัดเจนและเหมาะสม
มากขึ้น และครั้งที่สองในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยเป็นปรับปรุงหลักการ
๓๑
๒๙
รก.เล่มที่ ๑๐๗ ตอนที่ ๑๖๑ ตอนพิเศษ หน้า ๑ ลว. ๑ กันยายน ๒๕๓๓
๓๐ รก. เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๘ ก หน้า ๔๐ ลว. ๓๐ มิถุนายน ๒๕๓๗
๓๑ รก.เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๑๐๖ ก หน้า ๑ ลว. ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๔
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 44 13/2/2562 16:24:08