Page 42 - kpi20761
P. 42
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 41
สรุป กฎหมายแรงงานอาจมีความหมายแคบกว้างต่างกันไป
ในความเข้าใจของนักวิชาการสาขาต่างๆ ในภาพรวมบทกฎหมายที่เกี่ยวกับ
ผู้ใช้แรงงานย่อมมีสถานะเป็นกฎหมายแรงงานโดยมิจ�าต้องพิจารณาว่า
ผู้ใช้แรงงานนั้นได้ท�างานภายใต้สัญญาจ้างแรงงานหรือผูกพันตนด้วย
นิติสัมพันธ์แต่อย่างใด หากแต่กรอบนิยามของงานวิจัยฉบับนี้ได้ก�าหนด
ให้กรอบของ “กฎหมายแรงงาน” มีความแคบลงหมายถึงเฉพาะแต่กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการนิติสัมพันธ์ของคู่สัญญาจ้างแรงงานและกฎหมาย
ที่ก�าหนดหน้าที่ของบุคคลซึ่งเป็นประชากรวัยท�างานในลักษณะของกฎหมาย
ที่บริหารจัดการประชากรวัยท�างานเพื่อการเข้าสู่ตลาดแรงงานเท่านั้น
ภายใต้กรอบนิยามของกฎหมายแรงงานที่ชัดเจนย่อมท�าให้
สามารถแสดงสถานะของกฎหมายแรงงานไทยในปัจจุบันได้ทั้งในทาง
เนื้อหา และรูปแบบ
๑.๑.๒ เนื้อหาของกฎหมายแรงงาน
หนังสือ ต�ารา และงานเขียนทางวิชาการลักษณะอื่นเกี่ยวกับ
กฎหมายแรงงานที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในปัจจุบันมักจะน�าเสนอด้วย
วิธีการบรรยายบทกฎหมายแรงงานเรียงมาตราบ้าง บรรยายเป็นเรื่อง
ตามหัวข้อซึ่งมีชื่อสอดคล้องกับชื่อตัวบทกฎหมายบ้าง แต่ในรายงาน
การวิจัยฉบับนี้จะได้บรรยายด้วยการจ�าแนกออกเป็นบทบัญญัติที่ถือเป็น
หลักพื้นฐานแห่งกฎหมายแรงงานทั่วไป (๑.๑.๒.๑) และ บทบัญญัติที่มี
เนื้อหาเกี่ยวกับการแรงงานเฉพาะเรื่อง (๑.๑.๒.๒)
๑.๑.๒.๑ กฎหมำยแรงงำนพื้นฐำนทั่วไป
ควำมน�ำ จากกรอบนิยามเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานดังกล่าวข้างต้น
ย่อมเป็นที่เข้าใจได้ว่างานศึกษาฉบับนี้มุ่งเน้นวิเคราะห์กฎหมายที่มีเนื้อหา
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 41 13/2/2562 16:24:08