Page 44 - kpi20761
P. 44
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 43
(๑) กฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดหำงำนและคุ้มครองคนหำงำน
ประวัติควำมเป็นมำ ในหลักเศรษฐกิจอันเป็นหนึ่งในหลัก
๖ ประการของคณะราษฎร ได้กล่าวถึงหน้าที่ของรัฐบาลประชาธิปไตย
๒๗
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ ไว้อย่างชัดเจนว่าจะต้อง
“บ�ำรุงควำมสุขสมบูรณ์ในทำงเศรษฐกิจ โดยจะหำงำนให้รำษฎรทุกคน
ท�ำ...” อันเป็นผลให้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติส�านักงานจัดหางาน
พ.ศ. ๒๔๗๕ และพระราชบัญญัติส�านักงานจัดหางานประจ�าท้องถิ่น
พ.ศ. ๒๔๗๕ ขึ้น ซึ่งถือเป็นกฎหมายแรงงานเรื่องแรกหลังการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง กฎหมายทั้งสองฉบับนี้ท�าให้รัฐบาลไทยต้องจัดตั้งส�านักงาน
จัดหางานโดยเป็นการให้บริการแก่ประชากรวัยท�างานที่ต้องการหางานท�า
โดยไม่คิดค่าธรรมเนียม และอนุญาตให้เอกชนประกอบธุรกิจจัดหางาน
โดยเรียกเก็บค่าธรรมเนียมตามที่กฎหมายก�าหนดได้ อย่างไรก็ดีกฎหมาย
ทั้งสองฉบับนี้กล่าวแต่เฉพาะองค์ประกอบของส�านักงานจัดหางาน
โดยมิได้กล่าวถึงเนื้อหาที่เป็นการคุ้มครองผู้หางานไว้อย่างเพียงพอ จึงเป็น
ที่มาของการประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน
พ.ศ. ๒๕๑๑ ขึ้นแทนที่ โดยกฎหมายที่ประกาศขึ้นใช้ใหม่นี้ มีเนื้อหา
คุ้มครองผู้หางานมากขึ้นแต่ก็ยังมีข้อเสียในประเด็นที่ไม่ได้มีการก�าหนด
มาตรการในการคุ้มครองคนหางานที่เดินทางไปท�างานยังต่างประเทศเลย
กอปรกับในช่วงหลังปี พ.ศ. ๒๕๑๕ เป็นต้นมา แรงงานไทยนิยมเดินทาง
๒๘
wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%
81_6_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%
B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%93%E0
%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3,
(เข้าถึงเมื่อ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐).
๒๘ โครงการป้องกันและปราบปรามการหลอกลวงคนหางานไปท�างานต่างประเทศ, (ออนไลน์)
http://www.publicconsultation.opm.go.th/phs/new_phs_proj_view.asp?editId=P521109001,
(เข้าถึงเมื่อ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐)
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 43 13/2/2562 16:24:08