Page 49 - kpi20761
P. 49

48

                 ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของวัฒนธรรมและวิถีชีวิตอย่างไทย
                 จนกระทั่งมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติช่วยอาชีพและวิชาชีพ ฉบับที่ ๑

                 และฉบับที่ ๒ ในปี ๒๕๘๔ และปี ๒๕๘๕ ตามล�าดับ ด้วยการก�าหนด
                 อาชีพที่เกี่ยวกับเอกลักษณะเฉพาะของประเทศและวัฒนธรรมไทย เช่น

                 การหล่อพระพุทธรูป การท�านา ฯลฯ ไว้ให้แต่คนสัญชาติไทยเท่านั้น
                 ที่สามารถประกอบได้ ครั้นต่อมาอีกเกือบ ๑๕ ปีกฎหมาย ๒ ฉบับนี้ได้ถูก
                 ยกเลิกและแทนที่ด้วยกฎหมายการท�างานของคนต่างด้าวฉบับใหม่ชื่อว่า

                 พระราชบัญญัติสงเคราะห์อาชีพแก่คนไทย พ.ศ. ๒๔๙๙ โดยกฎหมาย
                 ฉบับใหม่นี้ได้ก�าหนดอาชีพสงวนเพิ่มขึ้นเป็น ๑๗ อาชีพ อีกทั้งก�าหนด

                 สัดส่วนลูกจ้างคนงานไทยกับลูกจ้างคนงานต่างด้าวที่สถานประกอบการ
                 จะจ้างได้ในกิจการหนึ่ง หรือกล่าวโดยง่ายก็คือการประกอบกิจการ
                 ในประเทศไทยนั้นจะมีแต่แรงงานต่างด้าวเพียงอย่างเดียวหรือเป็น

                 ส่วนใหญ่ไม่ได้ คนงานในสถานประกอบการแต่ละแห่งอย่างน้อยกึ่งหนึ่ง
                 (ร้อยละ ๕๐) ต้องเป็นผู้ที่มีสัญชาติไทย ต่อมาอีก ๑๕ ปี กฎหมายฉบับนี้

                 ก็ถูกแทนที่โดย ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๓๒๒ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม
                 ๑๕๑๕ โดยการเพิ่มอาชีพต้องห้ามที่สงวนไว้เฉพาะคนไทยเป็น ๓๙ อาชีพ
                 และก�าหนดให้ต่างด้าวที่จะท�างานในประเทศไทยได้นั้นต้องได้รับอนุญาต

                 ในทุกกรณี อันถือเป็นหลักการพื้นฐานของกฎหมายเกี่ยวกับการท�างาน
                 ของคนต่างด้าวปัจจุบัน



                         พระรำชบัญญัติกำรท�ำงำนของคนต่ำงด้ำว... อย่างไรก็ตาม

                 หลังจากประกาศของคณะปฏิวัติมีผลบังคับใช้ได้ไม่นานนักก็ได้รับการพัฒนา
                 ปรับปรุงและยกระดับขึ้นเป็นกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติชื่อว่า

                 พระราชบัญญัติการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๒๑ โดยยังคงรักษา
                 หลักการและกลไกต่างๆ ที่ปรากฏใน ปว. ๓๒๒ ไว้ หากแต่มีการเพิ่มเติม
                 เงื่อนไขที่ยินยอมให้ต่างด้าวซึ่งต้องห้ามอยู่ในประเทศหากแต่อยู่ใน







         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   48                                     13/2/2562   16:24:08
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54