Page 52 - kpi20761
P. 52
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 51
แนวปฏิบัติภายในเพื่อให้นานาชาติเห็นถึงความพยายามของประเทศไทย
ที่จะแก้ไขและขจัดปัญหาดังกล่าว ด้วยกระบวนการ ๕ ด้าน กล่าวคือ
การก�าหนดนโยบาย (Policy) การด�าเนินคดี (Prosecution) การปกป้อง
(Protection) การป้องกัน (Prevention) และการสร้างความร่วมมือ
(Partnership) จนกระทั่งปี ๒๕๕๙ สหรัฐอเมริกาได้ปรับให้ประเทศไทย
๔๘
มีความน่าเชื่อถือเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ในระดับ Tier 2 กระนั้น แม้สถานการณ์
การค้ามนุษย์กับการใช้แรงงานต่างด้าวของไทยจะดีขึ้นก็ตาม แต่รัฐบาล
ก็ยังคงด�าเนินการในการแก้ไขปัญหานี้ให้ดียิ่งๆ ขึ้นและมีความสมบูรณ์
ที่สุดต่อไป
พระรำชก�ำหนดกำรบริหำรจัดกำรกำรท�ำงำนของคนต่ำงด้ำว
พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อให้กฎหมายเกี่ยวกับการท�างานของคนต่างด้าวตอบสนอง
ต่อความต้องการในการใช้แรงงานต่าวด้าวในประเทศอย่างถูกต้องและ
ชัดเจนมากขึ้น รัฐบาลจึงได้ประกาศใช้ “พระราชก�าหนดการบริหารจัดการ
๔๙
การท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ ” ขึ้นเมื่อกลางเดือนมิถุนายน
ที่ผ่านมา ซึ่งในภาพรวมนั้นกฎหมายฉบับใหม่นี้ยังคงมีโครงสร้างของเนื้อหา
เหมือนกันกับกฎหมายฉบับก่อนๆ กล่าวคือ ก�าหนดให้การที่ต่างด้าวจะ
ท�างานได้ต้องได้รับอนุญาตเสมอ (โดยหลักการแล้วใบอนุญาตมีอายุ
๕๐
๒ ปีสามารถต่ออายุได้แต่รวมทั้งสิ้นไม่เกิน ๔ ปี หรือตามที่คณะรัฐมนตรี
๔๘ แสงจันทร์ มาน้อย, กำรด�ำเนินงำนของประเทศไทยในกำรต่อต้ำนกำรค้ำมนุษย์,
ส�านักวิชาการ ส�านักงานเลขาธิการวุฒิสภา, ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๗. (ออนไลน์)
http://library.senate.go.th/document/Ext8122/8122013_0006.PDF (เข้าถึงวันที่
๑ ตุลาคม ๒๕๖๐)
๔๙ รก. เล่ม ๑๓๔ ตอน ๖๕ ก ลว ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๐
๕๐
พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๘
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 51 13/2/2562 16:24:09