Page 30 - kpi20761
P. 30

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  29


                    กฎหมายที่มีเนื้อหาด้านแรงงานก็จะถือเอาแนวทางในอนุสัญญา
                    เป็นข้อพิจารณาส�าคัญเสมอ จึงถือได้ว่าอนุสัญญาขององค์การแรงงาน

                    ระหว่างประเทศเป็นที่มาหลักของกฎหมายแรงงานไทยในปัจจุบันประการหนึ่ง

                             หลักในกำรพิจำรณำเพื่อกำรพัฒนำและปรับปรุงกฎหมำย

                    แรงงำนไทย ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมทุกวันนี้ล้วนแล้วแต่
                    มีประเด็นทางด้านการแรงงานเกี่ยวข้องทั้งสิ้นไม่ทางตรงก็ทางอ้อม
                    การพัฒนาแก้ไขกฎหมายแรงงานเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้ในคราวเดียวกัน

                    ย่อมเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยากเพราะขอบเขตของปัญหาที่กว้างขวาง
                    ด้วยเหตุนี้การพิจารณาบริบททางสังคม ณ ขณะท�าการศึกษา ย่อมท�าให้

                    จ�าแนกล�าดับชั้นความส�าคัญของปัญหาที่จ�าเป็นเร่งด่วนและปัญหา
                    ที่ต้องการเวลาในการแก้ไขได้ ซึ่งหากน�าหลักแนวคิดดังกล่าวมาปรับใช้กับ
                    ประเทศไทยแล้ว พบได้ว่าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันประเทศไทยพยายาม

                    ที่จะพัฒนากฎหมายแรงงานให้มีความเป็นสากลสอดคล้องกับแนวทาง
                    ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศให้มากที่สุด แต่ด้วยข้อจ�ากัดทาง

                    สังคมเศรษฐกิจตลอดจนการเมือง ท�าให้การพัฒนากฎหมายแรงงาน
                    บางเรื่องจ�าเป็นต้องหยุดชะงักหรือมีความล่าช้าลงในบางช่วงเวลา กระนั้น
                    ความพยายามดังกล่าวก็ไม่ได้สูญหายไปเสียทีเดียวแต่อาจเป็นไป

                    ในลักษณะค่อยเป็นค่อยไปเพื่อให้สังคมเกิดความเคยชินและยอมรับกับ
                    แนวปฏิบัติที่เป็นสากล จนท้ายที่สุดไม่มีความรู้สึกว่าการแก้ไขกฎหมาย

                    ดังกล่าวเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสังคมอย่างใหญ่หลวงแต่อย่างใด
                    กระนั้นก็ต้องยอมรับว่าข้อเท็จจริงในบางเรื่องเป็นปัญหาแรงงานที่เกิดขึ้น



                    ...(ต่อ) ซึ่งเป็นค�าที่ใช้ทั่วไปในกฎหมายแรงงานฝรั่งเศส หมายความถึงผู้ที่มีส่วนร่วมในการ
                    เจรจาและก�าหนดเงื่อนไขการท�างาน สวัสดิการ ในสาขาอาชีพต่างๆ ทั้งที่มีลักษณะเฉพาะ
                    และเป็นการทั่วไป อันได้แก่ สมาคมนายจ้าง สหภาพแรงงาน ตลอดจนกลุ่มผู้ใช้แรงงานและ
                    ผู้ประกอบกิจการในท�านองดังกล่าว ดังนี้แล้วย่อมเป็นที่เข้าใจได้อย่างง่ายว่า partenaire
                    sociaux ก็คือ ผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง นั่นเอง





         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   29                                     13/2/2562   16:24:07
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35