Page 33 - kpi20761
P. 33

32





                         สมมุติฐำนงำนวิจัย ประเทศไทยพยายามปรับปรุงกฎหมาย
                 แรงงานให้สอดคล้องกับหลักการสากล หากแต่ข้อจ�ากัดภายในประเทศ
                 ทั้งเรื่องสังคมและเศรษฐกิจท�าให้กฎหมายแรงงานไม่อาจแก้ไขได้อย่าง

                 ครบถ้วนทุกเรื่องในคราวเดียวกัน หากแต่ประเทศไทยต้องก�าหนดว่า
                 เรื่องใดเป็นเรื่องเร่งด่วนจ�าเป็นในการแก้ไขปรับปรุง (ปฏิรูป) และเรื่องใด

                 เป็นเรื่องที่ต้องการเวลาในการปรับปรุงแก้ไข (พัฒนา)




                         ระเบียบวิธีวิจัยและวิธีกำรด�ำเนินกำรวิจัย งานวิจัยฉบับนี้

                 เป็นงานวิจัยเอกสาร (Documentary Research) ที่มีรูปแบบเฉพาะทาง
                 นิติศาสตร์ โดยคณะผู้วิจัยได้ยึดงานเขียนและวรรณกรรมในทางนิติศาสตร์

                 เป็นเครื่องมือส�าคัญในการด�าเนินงาน เพื่อค้นคว้าแนวคิด ทฤษฎี หลักการ
                 ทั่วไปของกฎหมายแรงงานในประเด็นว่าด้วย การคุ้มครองและสวัสดิการ
                 แรงงาน การพัฒนาฝีมือแรงงาน ตลอดจนการบริหารจัดการแรงงาน

                 อันจะท�าให้คณะผู้วิจัยมีข้อมูลพื้นฐานที่จะใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์
                 บทกฎหมายไทยในประเด็นดังกล่าวนี้ ด้วยการศึกษาเปรียบเทียบกับ

                 มาตรฐานแรงงานสากลเพื่อชี้ให้เห็นถึงประเด็นปัญหาข้อกฎหมายของ
                 ไทย ผลการวิจัยที่ได้รับในส่วนนี้ย่อมท�าให้คณะผู้วิจัยสามารถน�ามาศึกษา
                 ประกอบกับแนวนโยบายการบริหารจัดการแรงงานของรัฐอันจะท�าให้เห็น

                 ข้อพิจารณาต่างๆ ที่ประเทศไทยจ�าต้องถือเป็นสาระส�าคัญในการปฏิรูป
                 และพัฒนาปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการแรงงาน ทั้งในระดับเร่งด่วน

                 และระยะยาวต่อไป













         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   32                                     13/2/2562   16:24:07
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38