Page 36 - kpi20761
P. 36

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  35


                             ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ในงานวิจัยศึกษา คณะผู้จัดท�า
                    คาดว่าผลการศึกษาจะท�าให้


                             (๑)   ทราบถึงสถานะของกฎหมายแรงงานไทยในภาพรวม
                                   และมุมมองของสากลที่เกี่ยวกับความไม่สอดคล้อง

                                   ของกฎหมายไทยกับหลักการสากลทางด้านแรงงาน
                                   ในประเด็นต่างๆ โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับ
                                   การคุ้มครองแรงงานและสวัสดิการแรงงาน การพัฒนา

                                   ฝีมือแรงงาน และการบริหารจัดการแรงงาน
                             (๒)   ทราบถึงแผนการและแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข

                                   กฎหมายเกี่ยวกับแรงงานทั้งในระยะเร่งด่วนให้สอดคล้อง
                                   กับแผนการปฏิรูปประเทศและระยะยาวเพื่อให้เป็นไป

                                   ตามหลักสากลได้
                             (๓)   ทราบถึงข้อกฎหมายแรงงานที่ต้องแก้ไขเพื่อความ

                                   สอดคล้องกับแผนปฏิรูปประเทศ (นโยบายระยะเร่งด่วน)
                                   และเพื่อความเป็นสากลอย่างสมบูรณ์ของกฎหมาย
                                   แรงงานไทย (นโยบายระยะยาว)

                             (๔)   ทราบถึงมาตรการที่น่าสนใจที่รัฐอาจน�ามาใช้ปฏิบัติ

                                   ควบคู่เมื่อมีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายแรงงาน เพื่อเป็น
                                   การลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการแก้ไขกฎหมาย
                                   ดังกล่าว

                             (๕)   สังคมทั่วไปและทุกภาคส่วนได้ทราบถึงทิศทางและ

                                   ความเหมาะสมในการพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติ
                                   กฎหมายแรงงานไทยได้











         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   35                                     13/2/2562   16:24:08
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41