Page 24 - kpi20761
P. 24

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  23


                    และด้วยเสรีภาพที่ผู้ประกอบการมีอยู่อย่างกว้างขวาง อีกทั้งอ�านาจในทาง
                    การเงินที่มากกว่าท�าให้บุคคลกลุ่มนี้สามารถจ้างแรงงานและก�าหนด

                    เงื่อนไขการท�างานได้ตามอ�าเภอใจ ดังปรากฏว่ามีการจ้างแรงงานเด็กอายุ
                    ต�่ากว่า ๘ ขวบเข้าท�างาน มีการจ้างงานด้วยชั่วโมงการท�างานที่สูงกว่า
                    ๑๒ ชั่วโมงต่อวัน มีการใช้แรงงานสตรีที่ตั้งครรภ์ในสภาพแวดล้อม

                    ที่ไม่เป็นมิตรกับสถานะความเป็นมารดา จนกระทั้งในปี ค.ศ. ๑๘๓๓
                    อังกฤษจึงเป็นประเทศแรกที่ออกกฎหมายโรงงาน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ

                    ก�าหนดวันเวลา การจ่ายค่าตอบแทนลูกจ้าง และการจ้างลูกจ้างเด็กและสตรี
                    ในสถานประกอบการอุตสาหกรรม จากนั้นอีกประมาณ ๒๐ ปีประเทศ
                    ต่างๆ ในยุโรปก็ได้มีการตรากฎหมายในลักษณะดังกล่าวนี้ออกมา

                    บังคับใช้เช่นกัน  ซึ่งถือได้ว่าเป็นต้นก�าเนิดของกฎหมายแรงงานปัจจุบัน
                                 ๗
                    ที่อยู่ในรูปของกฎหมายอุตสาหกรรมนั่นเอง




                            วิวัฒนำกำรของกฎหมำยแรงงำน ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
                    สิ้นสุด การพัฒนากฎหมายแรงงานยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในภาค

                    อุตสาหกรรม โดยแต่ละประเทศได้ประกาศใช้กฎหมายที่มีเนื้อหาแตกต่าง
                    กันตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความต้องการของรัฐในการ
                    บริหารจัดการแรงงาน โดยไม่มีเกณฑ์หรือข้อตกลงกลางที่เป็นสากล

                    แต่อย่างใด จนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ ๑ สิ้นสุดลง นานาชาติได้ตระหนัก
                    ถึงความส�าคัญของการแรงงานว่าไม่ใช่ประเด็นปัญหาภายในเท่านั้น

                    แต่การใช้แรงงานด้วยเงื่อนไขที่แตกต่างกันโดยไม่มีกฎเกณฑ์กลางย่อมท�าให้
                    เกิดข้อพิพาทที่ลุกลามระดับโลกได้ ดังนี้ การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายส์




                    ๗  ศุภศิษฏ์  ทวีแจ่มทรัพย์, หน่วยที่ ๑ วิวัฒนำกำร แนวคิด และหลักกำรกำรใช้กฎหมำย
                    แรงงำน, เอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายแรงงาน, หน่วยที่ ๑ – ๗, มหาวิทยาลัยสุโขทัย
                    ธรรมาธิราช, ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๒, ๒๕๕๕, หน้า ๑ -๑๐.





         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   23                                     13/2/2562   16:24:07
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29