Page 119 - kpi20761
P. 119
118
ให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม จึงเท่ากับว่าประเทศไทย
๑๔๙
มีบทบัญญัติกฎหมายในส่วนของการคุ้มครองแรงงาน
ในเรือเดินทะเลแต่ยังขาดกฎเกณฑ์ล�าดับรองที่จะ
ขับเคลื่อนให้หลักการในบทบัญญัติเกิดผลได้จริง
๙. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๘๗ ว่าด้วยการส่งเสริมกรอบ
การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการท�างาน
ได้เน้นถึงความส�าคัญของการส่งเสริมความปลอดภัย
ในการท�างาน การป้องกันโรค อุบัติภัยจากการท�างาน
โดยรัฐภาคีควรมีมาตรการทั้งที่เป็นเรื่องของนโยบาย
มาตรการ และโครงการระดับชาติเพื่อรองรับแนวคิด
ดังกล่าวนี้ ในกฎหมายแรงงานไทยนั้นบทบัญญัติเรื่อง
ความปลอดภัยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่
๑๕๐
อดีตจนปัจจุบัน โดยปรากฏทั้งส่วนที่เป็นบทบัญญัติ
เกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�างานและส่วนที่เป็น
การก�าหนดนโยบายโดยคณะกรรมการระดับชาติ
ที่มีองค์ประกอบเป็นไตรภาคี คือ มีผู้แทนจากภาครัฐ
ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง และผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง และเมื่อมี
๑๕๑
การแยกกฎหมายความปลอดภัยออกมาเป็นเอกเทศ
๑๔๙
ธีระ ศรีธรรมรักษ์ และมีธรรม ณ ระนอง, อนุสัญญำทำงทะเล ค.ศ. ๒๐๐๖
และกำรบังคับใช้กฎหมำยคุ้มครองแรงงำนทำงทะเลของประเทศไทย, [ออนไลน์]
http://www.dpu.ac.th/graduate/upload/content/filesปีีที่%204%20ฉบับที่%202%20
เดือนธันวาคม%202558%20-%20มีนาคม%202559 /vol4-2-17.pdf [๑๐ มกราคม ๒๕๖๑]
๑๕๐
โปรดศึกษาย่อหน้าที่ ๓๘
๑๕๑ พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�างาน
พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๒๔
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 118 13/2/2562 16:24:13