Page 124 - kpi20761
P. 124
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 123
(ข) ปัญหำข้อเท็จจริงอันส่งผลให้และสืบเนื่องจำกกำรที่
ไทยยังไม่ให้สัตยำบัน
๑๖๐
ข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ต่างๆ ได้สะท้อนให้เห็นถึงความพยายาม
ของนักกฎหมายแรงงานและผู้ใช้แรงงานในภาคส่วนต่างๆ ของประเทศไทย
ที่พยายามผลักดันให้รัฐบาลแก้ไปปรับปรุงพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
ในประเด็นต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้นให้มีความสอดคล้องกับหลักการ
ของ ILO เพื่อที่ประเทศไทยจะได้สามารถให้สัตยาบันในอนุสัญญาแกน
๑๖๑
อีกสองฉบับที่ยังเหลืออยู่ แต่ก็ดูเหมือนว่าความพยายามดังกล่าวได้
ประสบความล้มเหลวตลอดมา ทั้งนี้ด้วยบริบททางเศรษฐกิจและการเมืองไทย
ที่ไม่ใคร่จะรองรับกับการแก้ไขกฎหมายในเรื่องนี้เท่าใดนัก
บริบททำงกำรเมืองกับกำรแยกคุ้มครองแรงงำนเอกชนและ
แรงงำนรัฐวิสำหกิจ เดิมทีการให้ความคุ้มครองแรงงานเอกชนและแรงงาน
รัฐวิสาหกิจเคยอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘
ร่วมกัน แต่ด้วยเหตุที่มีการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน
ในช่วงที่ส่วนหนึ่งของคณะรัฐบาลมาจากผู้ที่มีอ�านาจทางการทหาร และ
ผู้น�าสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจได้เป็นก�าลังส�าคัญในการเรียกร้องครั้งนั้น
ซึ่งในเวลาต่อมาได้เกิดเหตุจลาจลที่คนไทยรู้จักกันในเชื่อวิกฤตการณ์
๑๖๒
พฤษภาทมิฬ ในส่วนผลการเรียกร้องโดยรัฐวิสาหกิจนั้นท�าให้มีการแยก
๑๖๐ โปรดศึกษาบทสัมภาษณ์ ศาสตราจารย์(พิเศษ) เกษมสันต์ วิลาวรรณ ในภาคผนวก ๑
๑๖๑
ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา, อนุสัญญำ ILO ฉบับที่ 87 และ 98 ท�ำไมต้องให้
สัตยำบัน?, มูลนิธิแฟรดิด เอแบร์ท [ออนไลน์] http://library.fes.de/pdf-files/bueros/
thailand/07973.pdf [๘ มกราคม ๒๕๖๑]
๑๖๒ คมชัดลึก, วันนี้ในอดีต ๑๗ พฤษภำคม ๒๕๓๕ ก�ำเนิดพฤษภำทมิฬ, [ออนไลน์]
http://www.komchadluek.net/news/today-in-history/277321 [๘ มกราคม ๒๕๖๑]
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 123 13/2/2562 16:24:13