Page 126 - kpi20761
P. 126
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 125
ความเป็นอยู่ที่ย�่าแย่ ดังนั้นการมีงานท�าในประเทศไทยจึงเป็นโอกาส
ขยับขยายสถานะความเป็นอยู่ และเมื่อเปรียบเทียบกับแรงงานสัญชาติไทย
ที่มีโอกาสในการเลือกงานมากกว่า มีการเรียกร้องและต่อรอง ท�าให้
ความปรารถนาของฝ่ายนายจ้างผู้ประกอบการต่อการใช้แรงงานต่างด้าว
จึงไม่ใคร่ที่จะให้สิทธิในการเรียกร้องต่อแรงงานต่างด้าวมากเท่าใดนัก
ในส่วนของแรงงานไทยเอง แม้จะอยู่ในสถานะลูกจ้างเหมือนกัน แต่บ่อยครั้ง
มักพบว่าแรงงานไทยสามารถเข้าถึงสิทธิและความคุ้มครองได้อยู่แล้ว
การเรียกร้องให้แรงงานต่างด้าวได้สิทธิเทียมตนอาจเป็นการปิดช่องทาง
ประกอบอาชีพของแรงงานไทยในอนาคตก็ได้ ท�าให้บ่อยครั้งมักพบกว่า
การจัดตั้งสหภาพแรงงานโดยแรงงานไทยมักจะมีการตั้งข้อบังคับสมาชิกภาพ
ว่าจะต้องเป็นผู้ใช้แรงงานสัญชาติไทยเท่านั้น ซึ่งกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ไทย
ยอมรับให้ก�าหนดข้อบังคับในลักษณะดังกล่าวได้โดยถือเป็นเสรีภาพของ
แรงงานผู้รวมกลุ่ม
ผลสืบเนื่องจำกกำรไม่ให้สัตยำบันในอนุสัญญำฉบับที่ ๘๗
และฉบับที่ ๙๘ การเรียกร้องจากฝ่ายลูกจ้างผู้ใช้แรงงานต่อรัฐบาลไทย
ในการให้สัตยาบันอนุสัญญาทั้งสองฉบับนี้ยังคงปรากฏต่อเนื่องเรื่อยมา
๑๖๕
จนกระทั่งปัจจุบันเป็นเวลากว่า ๒๖ ปี และมีแนวโน้มว่าข้อเรียกร้อง
ดังกล่าวยังคงเป็นหนึ่งในวาระส�าคัญที่กลุ่มผู้ใช้แรงงานจะหยิบยกขึ้นมา
เรียกร้องต่อรัฐบาลไทยในวันแรงงานแห่งชาติของทุกปี นอกจากนี้แล้ว
๑๖๕
ประชาไท, ๒๑ ปี ข้อเรียกร้องวันกรรมกรสำกล: กำรรับรองอนุสัญญำองค์กำร
แรงงำนระหว่ำงประเทศฉบับที่ ๘๗ และฉบับที่ ๙๘, [ออนไลน์] https://prachatai.com/
journal/2013/09/49000 [๕ มกราคม ๒๕๖๑]
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 125 13/2/2562 16:24:14