Page 113 - kpi20761
P. 113
112
ที่สามารถตอบโจทย์ค�าถามและปัญหาการใช้แรงงานในประเทศตน
ไปปรับใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาแรงงานตามแนวทางสากลได้
การที่ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันกับอนุสัญญากลุ่มนี้ท�าให้เกิด
การพัฒนาบทบัญญัติกฎหมายแรงงานจ�านวนมาก ทั้งที่เป็นบทบัญญัติ
ที่ใช้บังคับกับแรงงานทุกประเภทเป็นการทั่วไป และบทบัญญัติที่มุ่งก�าหนด
เงื่อนไขในการคุ้มครองแรงงานเฉพาะด้วยความแตกต่างอันเนื่องมาจาก
สภาพหรือลักษณะงานดังมีรายละเอียดดังนี้
๑. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยวันหยุดพักผ่อนประจ�า
สัปดาห์ (กิจการอุตสาหกรรม) ที่พระราชบัญญัติคุ้มครอง
แรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้ใช้เป็นแนวทางส�าคัญในการ
ก�าหนดชั่วโมงการท�างานสูงสุดทั้งต่อวันและต่อสัปดาห์
๑๔๓
๒. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๙ ว่าด้วยความเท่าเทียมกันในการ
ปฏิบัติ (เงินทดแทน) ก�าหนดให้ลูกจ้างที่ได้รับอันตราย
จากการท�างานไม่ว่าจะมีสัญชาติใดย่อมชอบที่จะได้รับ
การบ�าบัดรักษาตามหลักการเกี่ยวกับเงินทดแทน โดยไม่
เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งความแตกต่างทางสัญชาติ
ซึ่งพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ ก็ได้น�า
หลักการดังกล่าวมาบังคับใช้อย่างเคร่งครัด ดังจะเห็นได้
จากการที่กฎหมายฉบับนี้ได้ก�าหนดให้มีกิจการที่ไม่อยู่
ภายใต้การบังคับใช้ของกฎหมายเพียงไม่กี่รายการ
กล่าวคือ กิจการของรัฐและรัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นองค์กร
ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการให้บริการสาธารณะและ
จัดกิจการอื่นๆ ที่เป็นพันธกิจของรัฐ การท�างานบ้าน
๑๔๓ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๒๓
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 112 13/2/2562 16:24:13