Page 98 - kpi20680
P. 98

74







                              - การจัดให้มีการประชุมท าความเข้าใจสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง
                              - การศึกษาดูงานแบบอย่างแห่งความส าเร็จเพื่อการประยุกต์ใช้องค์ความรู้

                              - เทคนิคการเรียนรู้และส ารวจข้อมูลร่วมกัน

                              (2) กระบวนการตัดสินใจ และวางแผนงาน โครงการ
                              การด าเนินงานจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการ

                       ริเริ่ม  การค้นหาปัญหา  สาเหตุ  ความต้องการ  ความจ าเป็น  มีสิทธิในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หากมี

                       ผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่ต้องได้รับการแจ้งข้อมูลข่าวสารประกอบการพิจารณาในการมีส่วน
                       ร่วมจัดล าดับความส าคัญ เพื่อเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาสาเหตุความต้องการ การตัดสินใจ

                       เลือกวิธีการรูปแบบในการด าเนินงาน การก าหนดทรัพยากรและแหล่งทรัพยากรที่จ าเป็นต้องใช้ใน

                       การด าเนินงาน  ตลอดจน  การประเมินผลได้ผลเสีย  ผลกระทบที่จะเกิดกับสภาพพื้นที่และ
                       ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  การมีเวที  เรียนรู้ร่วมกันจะท าให้เกิดกระบวนการตัดสินใจ

                       อย่างรอบด้านและมีความรอบคอบ เมื่อตัดสินใจร่วมกันแล้ว จัดท าเป็นแผนงาน โครงการ ก าหนด

                       ทิศทาง วิธีการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                       การตัดสินใจเป็นกระบวนการส าคัญก่อนที่จะมีการด าเนินการจัดการทรัพยากรโดย รูปแบบใด วิธี
                       ใดที่เหมาะสมที่สุด วิธีการที่ช่วยให้การตัดสินใจมีความชอบธรรมและตอบสนองความต้องการ ต่อ

                       ส่วนรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น

                              -  การท าประชาพิจารณ์  เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นโดยเปิดโอกาสให้มีผู้มีส่วนได้ผู้มีส่วน

                       เสีย  ในทุกภาคส่วนซึ่งปราศจากการกะเกณฑ์ก าหนดกลุ่มคนเฉพาะกลุ่ม  ได้แสดงเหตุผลความ
                       คิดเห็นและการรับฟังเหตุผลต้องมีคณะกรรมการที่เป็นกลาง  เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับ  เป็น

                       ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้สามารถประมวลสรุปความคิดเห็นได้อย่างเป็นเหตุเป็นผลและครอบคลุมในทุก

                       ประเด็น
                              - การจัดประชุมกลุ่มย่อย (focus-group) ให้ประชาชนวิเคราะห์และสรุปประเด็น

                              -  การท าประชาคมผ่านกระบวนการสร้างความเข้าใจ  การเผยแพร่ข้อมูล  ประชาสัมพันธ์

                       การประชุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในหลายระดับเป็นจ านวนหลาย ๆ ครั้ง
                              - การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งจะเป็น วิธีการ

                       ที่เชื่อมโยงกับภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะภาควิชาการ ในการสนับสนุนการะบวนการมีส่วนร่วมของ

                       ประชาชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                              - การประเมินผลกระทบ โดยการศึกษาเรียนรู้ร่วมกับนักวิชาการ ผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญ

                       จากการด าเนินโครงการภาครัฐที่ผ่านมากหลายโครงการความขัดแย้งปรากฏเป็นรูปธรรมชัดเจน

                       ตัวอย่าง การที่จะจัดตั้งโรงงานถ่านหิน ที่อ าเภอเทพา จังหวัดสงขลา ชาวเทพาบางส่วนที่สนับสนุน
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103