Page 114 - kpi20680
P. 114
90
แนวทาง/มาตรการระยะปานกลางและระยะสั้นที่สามารถด าเนินการได้เลย โดยกระจายอ านาจการ
จัดการศึกกษาสู่ท้องถิ่น พื้นที่และสถานศึกษาและเพิ่มบทบาทของภาคีต่างๆ และภาคประชาสังคม
ในการจัดการศึกษาโดยพิจารณาทั้งเชิงระบบตั้งแต่ระดับประเทศ ระดับจังหวัด เขตพื้นที่ไปจนถึง
ระดับโรงเรียน ด้วยการปรับปรุงโครงสร้างที่จ าเป็น
แนวคิดการจัดการโดยชุนชน เป็นแนวคิดที่มองความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับ
ระบบนิเวศ ประชาชนในชุมชนได้พึ่งพาอาศัยและใช้ประโยชน์ชุมชนจะมีองค์ความรู้ในการจัดการ
และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ทุกสิ่งทุกอย่างมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันจนเกิดเป็น
ความหลากหลายของรูปแบบการจัดการในแต่ละท้องถิ่นโดยมิติการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ชุมชนนั้น เป็ นปัจจัยหลักในการด ารงชีวิต ทั้งทรัพยากรธรรมชาติมีความสัมพันธ์กับ
ขนบธรรมเนียมประเพณีแต่ละท้องถิ่น ดังนั้นการจัดการด้วยกฎหมายระดับส่วนกลางหรือระดับ
ท้องถิ่นจึงไม่อาจประสบความส าเร็จในการจัดการทรัพยากรได้เพราะบริบทแต่ละท้องถิ่นจะมีความ
แตกต่างกัน
การจัดการทรัพยากรแบบองค์รวม ซึ่งมองทรัพยากรป่าไม้ น ้า และที่ดินเป็นระบบที่มี
ความสัมพันธ์กัน และการค านึงถึงผลประโยชน์และหน้าที่ของทรัพยากรแต่ละชนิดเป็นไปตาม
ธรรมชาติ อย่างไรก็ตามต้องค านึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติแบบองค์
รวมทั้งในความสัมพันธ์เชิงกายภาพ และการจัดการทรัพยากรโดยค านึงถึงความหลากหลายทาง
ชีวภาพของระบบนิเวศ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ที่มีเงื่อนไขความแตกต่างของแต่ละท้องถิ่น
เป็นตัวก าหนดการจัดการทรัพยากรที่มีลักษณะกระจายอ านาจสู่ท้องถิ่นและชุมชน โดยประชาชนมี
ส่วนร่วมโดยตรงเพื่อประโยชน์ของส่วนร่วม เช่น การจัดการป่าไม้ การจัดการน ้า ลักษณะพิเศษของ
การจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นนี้ คือ ประชาชนและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการ มีการจัดการ
ในรูปแบบต่างๆ กลุ่มประเพณี ผู้อาวุโส มีการร่างกฎระเบียบในการจัดการของตนเอง มีการลงโทษ
และปรับผู้กระท าผิดเอง มีการจัดสรรผลประโยชน์ร่วมกันโดยเป็นกรรมสิทธิ์รวมของชุมชนเป็น
หลัก การจัดการทรัพยากรที่ยึดหลักในการควบคุม การใช้อ านาจ การจัดการ และการแสวงหา
ผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการตรวจและควบคุมซึ่งกันและกันของสมาชิกองค์กร
มาตรการในการจัดการศึกษาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเกิด
จากการบริหารที่ไม่มีเอกภาพ ทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ การสร้างการบริหารที่มี
เอกภาพโดยผลักดันให้มีองค์กร กฎหมาย และนโยบายขับเคลื่อน มีระบบข้อมูลสนับสนุนการ
ตัดสินใจในการวางแผน การจัดการลุ่มน ้านั้น จะต้องให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการ
จัดการ เพื่อให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับวิถีและการด ารงอยู่ โดยภาครัฐและเอกชนเป็นเพียงผู้
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งมีความส าคัญต่อการพัฒนาในระยะยาว และในบรรดา