Page 116 - kpi20680
P. 116

92







                       โดยจัดให้มีสถาบันพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
                       สิ่งแวดล้อม มาตรการสถาบันพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  และ

                       สิ่งแวดล้อม ก าหนดให้มี สถาบันพัฒนากลไกการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ

                       สิ่งแวดล้อมโดยมีสถานะเป็นองค์กรร่วมมือ ระหว่างหลายภาคส่วน  (Hybrid  Organization)  เช่น
                       องค์กร ความร่วมมือระหว่างภาคประชาสังคมและเอกชน องค์กรความร่วมมือระหว่างรัฐกับประชา

                       สังคม  หรือองค์กรความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับเอกชน  เป็นต้น  เพื่อการประสานจุดแข็งในการ

                       ขับเคลื่อนการปฏิรูปเชิงปฏิบัติ เพื่อท าหน้าที่ในการขับเคลื่อนการปฏิรูปความคิด  การจัดการด้าน
                       ความรู้ เนื่องจากสภาพ ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่มีความสามารถในการน ากระบวนการการมี

                       ส่วนร่วมในการจัดการ  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างลึกซึ้ง  และมีความหมายที่แท้จริง

                       ประกอบกับอุปสรรคจากวัฒนธรรม  อ านาจและผลประโยชน์ที่ขัดขวางการมีส่วนร่วมที่แท้จริง
                       ปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับรากทางความคิดและแนวทางปฏิบัติของ “คน” เป็นส าคัญ

                              การปฏิรูปความคิดเป็นการเสริมสร้างคนเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมได้อย่างมี

                       ประสิทธิภาพและน าไปสู่การก าหนดแนวทางปฏิบัติของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ

                       ทรัพยากรธรรมชาติ  และสิ่งแวดล้อมพร้อมกับการพัฒนาองค์ความรู้และบุคลากรด้านการมีส่วน
                       ร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  และสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับความหลากหลายทางภูมิ

                       สังคมของประเทศไทย  และการพัฒนาที่สมดุล  และยั่งยืนบทบาทของสถาบันพัฒนากลไกการมี

                       ส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะท าหน้าที่ในการให้การอบรมและ

                       การศึกษาแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพร้อมกับพัฒนา
                       บุคลากรในการน ากระบวนการการมีส่วนร่วมรวมถึงการจัดกระบวนการปลูกจิตส านึกและ

                       จริยธรรมด้านสิ่งแวดล้อม การให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีบทบาทหลักในการออก

                       ข้อบัญญัติท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนในลักษณะการ
                       ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน

                              การมีส่วนร่วมอย่างมีความหมายนั้นจ าเป็นต้องมีการรองรับสิทธิทางกฎหมายในการมี

                       ส่วนร่วม  แต่ที่ผ่านมาแม้ว่าจะมีการกล่าวถึงสิทธิทางกฎหมายในระดับรัฐธรรมนูญ  หากแต่ยังขาด
                       การระบุสิทธิทางกฎหมายในกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะในระดับของพระราชบัญญัติ

                       ลงมา  ดังที่ได้กล่าวถึง  ปัญหาด้านโครงสร้างกฎหมายที่ไม่เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน

                       ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องมีการปฏิรูปด้านกฎหมายเพื่อรองรับสิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่วมใน
                       การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างมีความหมายที่แท้จริงในด้านทรัพยากรป่าไม้ โดย

                       ปรับปรุงและพัฒนาองค์กรและกฎหมายเพื่อสนองตอบการปฏิรูปทรัพยากรป่าไม้ทั้งระบบ การ

                       บริหารจัดการทรัพยากรป่าไม้เชิงพื้นที่ การจัดระเบียบและแก้ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับการใช้
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121