Page 118 - kpi20680
P. 118
94
การเสริมสร้างความรู้ จิตส านึกและความตระหนัก เกี่ยวกับความส าคัญองพื้นที่ป่าอนุรักษ์
ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า คุณค่าระบบนิเวศ รวมทั้งการปกป้องและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้
สัตว์ป่า และทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงคุณค่าในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ป่ าอนุรักษ์ พื้นที่ป่าต้นน ้า พื้นที่ป่าและบริเวณโดยรอบ โดยเฉพาะบริเวณ
ที่ถูกแปรสภาพเป็น เขาหัวโล้น
เสริมสร้างศักยภาพและการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กร
เอกชน ส่วนราชการ ชุมชนประมงชายฝั่ ง ในการคุ้มครองดูแล จัดการ และฟื้นฟู สัตว์ป่ าสงวนสัตว์ป่า
คุ้มครอง ชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ที่ถูกคุกคาม ชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นที่หายาก
ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายในการปกป้องคุ้มครองและฟื้ นฟูพื้นที่อนุรักษ์พื้นที่ป่าต้นน ้า
ทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่าและทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง
ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน รวมทั้งการใช้กระบวนการเพื่อสร้าง
ข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือสิทธิชุมชนในการจัดการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน เพื่อให้ชุมชนสามารถอยู่ร่วมกับ
ธรรมชาติได้อย่างยั่งยืนและพึ่งตนเองได้
5.2.2 ข้อเสนอแนะในทางปฏิบัติ
จากผลการวิจัยพบว่ายังมีปัญหาที่จะต้องน าไปสู่การด าเนินการที่เป็นข้อเสนอแนะของการ
วิจัย ดังนี้
(1) เพื่อให้กลไกลระหว่างภาครัฐและประชาชน ชุมชนสามารถขับเคลื่อนได้ หากจะ
น าไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในระบบการศึกษาของเด็กและเยาวชน
และสร้างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร การวิจัยมีข้อเสนอแนะให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ไปด าเนินการประยุกต์จัดท าเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่นของท้องถิ่นตนตามรูปแบบองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เช่น เป็นเทศบัญญัติของเทศบาลหรือเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนต าบล
ในเรื่องการจัดการศึกษา ในเรื่องการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
(2) แนวทางการน าผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
สาระส าคัญจากผลการวิจัยคือการสร้างกลไกระหว่างภาครัฐกับประชาชน ชุมชนซึ่งหากจะ
มีการน าไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพนั้นการวิจัยขอเสนอแนะให้มีการด าเนินการเพื่อให้เกิดการรับรู้และ
ยอมรับและปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อันจะเกิด
ประโยชน์โดยตรงต่อประชาชนในพื้นที่และท าให้ท้องถิ่นมีทรัพยากรที่ยั่งยืน ดังนี้
- การให้ข้อมูลข่าวสาร