Page 113 - kpi20680
P. 113

89







                       น าไปสู่การพัฒนาตนเองและสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมที่
                       ยั่งยืน ระดับจังหวัดและระดับต าบล ควรให้เป็นวาระจังหวัดทุกจังหวัด และมีการบันทึกข้อตกลง

                       ร่วมมือการจัดการจัดท าข้อบัญญัติท้องถิ่นว่าด้วยการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                       อย่างยั่งยืน เพื่อให้การน านโยบายสู่การปฏิบัติอย่างรูปธรรม การจัดท าข้อบัญญัติดังกล่าว เพื่อสร้าง
                       ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สู่การพัฒนา

                       คุณภาพชิวิตและสังคมอย่างยั่งยืน โดยก าหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการ

                       ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ต้องเป็นไปเพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนักในการรักษา
                       ทรัพยากรป่าไม้ ดิน และน ้าเพื่อส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของชุมชน และต าบล เพื่อให้

                       ชุมชนบริหารจัดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ ดิน และน ้าอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน การ

                       บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต าบลและที่จัดตั้งขึ้นอยู่ภายใต้ก ากับดูแลของ
                       องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้คณะกรรมการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับต าบล

                       และคณะกรรมการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ การ

                       ก าหนดให้มีสมาชิกเครือข่ายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยมีสิทธิและหน้าที่รวมก าหนด

                       แนวเขตป่าชุมชน แนวเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ และพื้นที่จัดการอื่นไม่ว่าทางน ้า ทะเล ร่วมกับ
                       หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง การร่วมบริหารจัดการ การจัดท าแผนการจัดการ และกิจกรรมดูแลรักษา

                       ฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน การร่วมจัดท าและปรับปรุงกฎระเบียบ

                       ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระดับหมู่บ้าน

                               ในการจัดการศึกษาต้องมีการตราพระราชบัญญัติ เพื่อก าหนดวิธีการปฏิบัติ การควบคุม
                       ตรวจสอบให้เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่ด าเนินตามกฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บรรลุตาม

                       วัตถุประสงค์ของกฎหมายก็เป็นสิ่งที่ทุกรัฐบาลควรด าเนิน การกลไกในระหว่างการจัดการศึกษา

                       ภาครัฐกับประชาชน ควรมีการถ่วงดุลอ านาจทางการศึกษา โดยการเปิดโอกาสให้ภาคส่วนต่าง ๆ มี
                       สิทธิ มีอ านาจเป็นผู้ออกแบบและผู้จัดการการศึกษาคู่ขนานไปกับรัฐ ควรก าหนดให้องค์กรที่จะเข้า

                       มาช่วยจัดการศึกษาที่สร้างวัฒนธรรมใหม่ให้กับคนไทย ประกอบไปด้วย องค์กรปกครองส่วน

                       ท้องถิ่น ครอบครัว ประชาสังคม สถาบันศาสนา และสถานประกอบการเอกชนด้านการศึกษา การ
                       ให้สิทธิกับภาคส่วนเหล่านี้เพราะจะสามารถสร้างการศึกษา เชิงวิพากษ์ การศึกษาเชิงมนุษย์ การให้

                       สิทธิอันนี้เพราะเราค านึงว่า คุณภาพการศึกษาเป็นไปไม่ได้เลยว่าจะท าได้โดยรัฐตามล าพัง เรื่องนี้

                       ไม่ใช่เฉพาะประเทศไทย แต่เป็นทั่วโลก การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาอย่างจริงจัง
                       น่าจะเป็นแนวทางช่วยแก้วิกฤติการศึกษาไทย ในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ควรเน้น

                       ประการส าคัญ คือ ประการแรก คือ การกระจายอ านาจการจัดการศึกษาลงสู่หน่วยปฏิบัติให้มาก

                       ที่สุด ประการที่สอง คือ การระดมทรัพยากรและดึงความร่วมมือรวมพลังจากภาคส่วนต่างๆโดยมี
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118