Page 108 - kpi20680
P. 108

84







                       ป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการดูแลรักษาที่สาธารณะ ภายใต้กฎหมาย
                       ฉบับนี้ยังมิได้มีการก าหนดรูปแบบของการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าด้วย

                       ระบบกรรมสิทธิ์แบบให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ

                              กลไกภาคประชาชน เป็นข้อตกลงร่วมกันเพื่อก าหนดคามประพฤติของคนภายในชุมชน
                       เช่น การกระท าเงื่อนไขการอนุญาตให้ใช้ทรัพากรของชุมชน หรือระยะเวลาในการใช้หรือห้ามใช้

                       ทรัพยากรนั้น กรณีศึกษาการจัดการทรัพยากรชายฝั่งแบบมีส่วนร่วม  โดยมี 7 ประเด็นหลัก ด้วยกัน

                       คือ
                              ก.  ฐานข้อมูล  ในประเด็นนี้ จังหวัดนครศรีธรรมราชมีหลายหน่วยงาน หลายองค์กรที่เป็น

                       หน่วยงานพัฒนาและศึกษาวิจัย แต่ไม่ได้รวบรวมฐานข้อมูลต่างๆ ไว้อย่างเป็นระบบ  เช่น ความ

                       หลากหลายทางชีวภาพองค์กรชุมชน  การกัดเซาะเพิ่มของชายฝั่ง  เครื่องมือประมง ในส่วนของ
                       ต าบลท่าศาลา มีการเก็บข้อมูลความหลากหลายและองค์กรชุมชนทางการประมงไว้บางส่วนแล้ว

                                       ดังนั้น ในอนาคตจึงต้องมีการเก็บรวมรวมข้อมูล เพื่อการประกอบการตัดสินใจของ

                       หลายๆ ฝ่ายร่วมกัน เพื่อการวางแผน และจัดระบบการท างานอย่างบูรณาการได้

                              ข. กลไกเฝ้าระวัง
                              ปัจจุบันกลไกเฝ้าระวัง มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลักๆ เช่น หน่วยงาน คือ กรมประมง กรม

                       เจ้าท่าและพาณิชย์นาวี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง  ทหารเรือ และต ารวจน ้า  แต่ปัญหาต่างๆ

                       ที่ตามมา คือ เรือไม่ได้อยู่ในสภาวะที่พร้อม ทั้งนี้เนื่องจากมีปัญหาเรื่องน ้ามัน  เจ้าหน้าที่  และ

                       ขอบเขตของพื้นที่ในการเฝ้าระวังกว้างในอนาคตจึงต้องผลักดันเรือประจ าการ  ณ ที่เกิดเหตุบ่อยๆ
                       พร้อมกับเจ้าหน้าที่ และมีค่าน ้ามันในการออกไปตรวจตราจับกุม โดยเป้นหน่วยระดับอ าเภอ พร้อม

                       ที่จะประสานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างบูณาการ ปัญหาในทะเลหน้าบ้าน จึงควรจัดการ

                       บทบาทและภารกิจให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เนื่องจากในปัจจุบัน แต่ละหน่วยงานไม่ได้ประสานงาน
                       อย่างเป็นระบบเกิดช่องว่างของสุญญากาศในการเฝ้าระวัง เพราะแต่ละหน่วยงานจะมีแผนเฝ้าระวัง

                       พื้นที่ละ 1 – 2 อาทิตย์เท่านั้น

                              ในพื้นที่ต าบลท่าศาลา ทาง อบต.จะสนับสนุนค่าน ้ามันในการตรวจตราและเฝ้าระวังทาง
                       ทะเลและชายฝั่ง แกเรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องที่มาประจ าการและตรวจตรา จับกุม  ในอนาคตจะ

                       ผลักดันเรื่องเรือตรวจตรา เจ้าหน้าที่ หรือประสานเรือมาประจ าการในพื้นที่  จากศักยภาพที่ผ่านมา

                       สรุปได้ว่า หน่วยงานระดับท้องถิ่น และระดับอ าเภอเป็นหน่วยงานที่มีศักยภาพและเข้าใจปัญหาที่
                       เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี

                              ค. การจัดการองค์กรชุมชน
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113