Page 106 - kpi20680
P. 106

82







                              การสร้างจิตส านึกเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ การอบรมผู้น าเยาวชน
                       เพื่อการพิทักษ์ทรัพยากรในท้องถิ่น โครงการปลูกจิตส านึกเยาวชน “ภาคใต้”  อนุรักษ์พัฒนาป่า

                       เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน โครงการวันต้นไม้แห่งชาติ เป็นต้น

                              เนื่องจากการสร้างจิตส านึกแก่ประชาชนโดยทั่วไปนั้นเป็นความพยายามที่จะปรับ
                       พฤติกรรมของมนุษย์ในทิศทางที่เสริมสร้างการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ป้องกัน

                       ปัญหาภาวะมลพิษซึ่งมักจะขัดกับพฤติกรรมที่เคยชินของประชาชนในสังคมปัจจุบันรวมทั้งยัง

                       จ าเป็นต้องมีการเสียสละเวลาและผลประโยชน์ส่วนตนเพื่อส่วนรวมด้วย  จึงเป็นการด าเนินงานที่
                       ต้องการความละเอียดอ่อนและต้องใช้ระยะเวลารวมทั้งต้องมีการวางแผนที่เหมาะสมเพื่อให้เข้าถึง

                       ประชาชนจึงจะท าให้เกิดผลบรรจุถึงเป้าหมายที่ก าหนดไว้

                              (7) กลไกด้านกฎหมาย
                       กลไกกฎหมายเป็นความสัมพันธ์เชิงอ านาจในกระบวนการมีส่วนร่วม  เนื่องจากเป็นกลไก  ในการ

                       สร้างมาตรการให้เกิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาค

                       ส่วน  ได้อย่างแท้จริง  เป็นกลไกให้สิทธิและความเป็นธรรมแก่ประชาชนและชุมชนให้เกิดการมี

                       ส่วนร่วมในระดับที่สูง
                              มาตรการในการจัดการสิ่งแวดล้อมดังกล่าวอาจถูกจัดตั้งขึ้นในระดับ  ชุมชน  ตัวอย่างเช่น

                       กฎระเบียบต าบลองค์การบริหารส่วนต าบลท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราชจะเป็นองค์กรปกครอง

                       ส่วนท้องถิ่นแรกของไทยที่ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นทางทะเล ภายใต้กระบวนการนโยบายสาธารณะ

                       แบบมีส่วนร่วม ของทุกฝ่าย ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคท้องถิ่น ภาคชุมชน ภาคประชาสังคม ซึ่งเป็น
                       กฎกติกาชุมชน เป็นนโยบายขนาดเล็กที่สุดที่สามารถบังคับใช้ทางกฎหมายได้



                              แนวคิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในเชิงความสัมพันธ์ของอ านาจ มีแนวคิดอยู่สอง
                       แนวคือ แนวนโยบายกฎหมาย การปฏิบัติการที่เกิดขึ้นจริง ตั้งแต่ระดับมหาภาคจนถึงระดับท้องถ่น

                       ซึ่งมีผลกระทบต่อการใช้และการจัดการทรัพยากร ตลอดจนการศึกษากระบวนการและกลไกของ

                       ระบบที่อาศัยความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับอ านาจรัฐ เพื่อสร้างความเปรียบในการใช้ทรัพยากรโดย
                       พยามวิเคราะห์หาสาเหตุในการจัดการทรัพยากรและการเสื่อมโทรมของทรัพยากร และ แนวคิด

                       ด้านนิเวศ เน้นการศึกษาด้านความสัมพันธ์ที่ขัดแย้งเกี่ยวกับอ านาจและสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร

                       แนวคิดการจัดการทรัพยากรร่วม เนื่องจากภาครัฐเป็นเจ้าของทรัพยากรธรรมชาติ แต่หากใช้การ
                       จัดการทรัพยากรร่วมมีลักษณะส าคัญประการหนึ่งที่มี ทรัพยากรร่วมจึงมีลักษณะเป็ น

                       ทรัพยากรธรรมชาติที่มีขนาดใหญ่ ไม่ว่าป่าไม้ ทรัพยากรทะเลชายฝั่ง แนวคิดเรื่องสิทธิชุมชน

                       เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันเป็นชุมชน โดยที่สมาชิกของชุมชนจะต้องมีความตระหนักในเอกลักษณ์
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111