Page 104 - kpi20680
P. 104

80







                       ในการรับมือกับความเสี่ยงจากราคายางที่ผันผวน กล่าวคือ เกษตรกรต้องปรับตัวโดยการปลูกพืช
                       ชนิดอื่นแซมในสวนยาง เพื่อสร้างรายได้เสริมและใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ

                       จ าเป็นต้องเปลี่ยนกลไลหรือความรู้ให้กับเกษตรกรในภาคใต้ พืชที่สามารถปลูกในสวนยางได้มี

                       หลายชนิด อาทิ สับปะรด มะละกอ พืชสมุนไพร แต่เกษตรกรต้องค านึงถึง (1) ชนิดของพืชตาม
                       ความเหมาะสมของดินแต่ละพื้นที่และพืชที่เลือกปลูกสามารถอยู่ร่วมกับยางอายุเท่าไหร่ เนื่องจาก

                       คุณลักษณะพืชแต่ละชนิดแตกต่างกัน บางชนิดปลูกร่วมกับยางได้เฉพาะยางที่อายุไม่เกิน 3 ปี บาง

                       ชนิดปลูกร่วมกับยางได้ถึงอายุ 10 ปี (2) ความรู้เกี่ยวกับพืชที่จะปลูก ทั้งในด้านการเพาะปลูก ดูแล
                       รักษา เก็บเกี่ยว ขยายพันธุ์ และอื่น ๆ เนื่องจากความรู้เหล่านี้จะช่วยลดต้นทุนในการลองผิดลองถูก

                       และลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากตัวเกษตรกรเอง (3) ทดลองปลูกพืชในแปลงขนาดเล็กก่อน

                       เพื่อให้มั่นใจว่าพืชชนิดนั้น ๆ สามารถเติบโตได้ในพื้นที่ของเรา และเป็นต้นแบบส าหรับการ
                       ค านวณผลตอบแทนและความคุ้มค่าในการเพาะปลูก (4) เมื่อทดลองในแปลงขนาดเล็กส าเร็จค่อย

                       ขยายผลไปสู่แปลงขนาดใหญ่ โดยปรับลดพื้นที่ปลูกยางบางส่วนเพื่อปลูกพืชดังกล่าว การท าเช่นนี้

                       จะช่วยลดความเสี่ยงจากการพึ่งพาพืชเชิงเดี่ยว

                              การอนุรักษ์ป่าพร้อมพัฒนาคนในพื้นที่ภาคใต้เอง โดยเปิดอกาสให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมใน
                       การจัดการ ดูแล รักษา และใช้ประโยชน์ โดยเริ่มต้นจากการประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ หา

                       คุณค่าส าคัญยิ่งกว่านั้น คือการที่เขาร่วมรับรู้ปัญหา ร่วมแก้ไข ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับชาวบ้าน เสมือน

                       เป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ ความไว้วางใจ ความผูกพันด้านจิตใจ
                       ภายในชุมชนและระหว่างชุมชนกับเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะป่าชายเลนที่มีมากในพื้นที่ภาคใต้ “คนอยู่

                       ได้ ป่าอยู่รอด” สู่รูปธรรมของกิจการด้านต่างๆ ทั้งการอนุรักษ์ธรรมชาติ เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา

                       ในนามของโครงการ “คนอยู่-ป่ายัง” เพื่อแสดงให้ชาวบ้านเห็นว่า ยังมีทางเลือกในการสร้างคุณภาพ

                       ชีวิตที่ดี และอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเกื้อกูลกัน
                              การขับเคลื่อนสังคมไทยสู่อนาคต ที่เปิ ดโอกาสให้ชุมชนมีสิทธิในการดูแลจัดการ

                       ทรัพยากรธรรมชาติ และสร้างความเข้มแข็ง บนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง โดยมีหน่วยงานจาก

                       ภาครัฐเป็นผู้ให้การสนับสนุน ชุมชน ในโครงการ “คนอยู่-ป่ายัง”  พิสูจน์ให้เห็นว่าแนวความคิด
                       เรื่อง “คนอยู่กับป่า” เป็นสิ่งที่เป็นไปได้

                              (5) กลไกการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

                              เป็นกลไกหนุนเสริมให้ทุกภาคส่วนได้มีรูปแบบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
                       สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน  เช่น  การจัดการทรัพยากรต้นน ้า  กลางน ้า  ปลายน ้าอย่างสัมพันธ์เกื้อกูลกัน

                       การพัฒนา  “คนอยู่กับป่า”  การด าเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด าริ

                       พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ 9  การให้ความส าคัญกับการจัดการ
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109